เล่ม4

เรื่องพระราธเถระ

๖.อ.กถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรค
อันบัณฑิตกำหนดแล้วด้วยบัณฑิต
(มยา อันข้าพเจ้า วุจฺจเต จะกล่าว) ฯ
๖. ปณฺฑิตวคฺควณฺณนา
. อ.เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าราธะ
(มยา อันข้าพเจ้า วุจฺจเต จะกล่าว) ฯ
๑. ราธตฺเถรวตฺถุ. (๖๐)
1อ.พระศาสดา  2เมื่อประทับอยู่ 3ในพระเชตวัน 4ทรงปรารภ  5ซึ่งพระราธะ  6ผู้มีอายุ 7ตรัสแล้ว 8ซึ่งพระธรรมเทศนา  9นี ้ ว่า(“) นิธีนํว ปวตฺตารํ ดังนี ้(“) เป็นต้น ฯ นิธีนํว ปวตฺตารนฺติ  9อิมํ  8ธมฺมเทสนํ 1สตฺถา  3เชตวเน  2วิหรนฺโต 6อายสฺมนฺตํ  5ราธํ  4อารพฺภ   7กเถสิ.
1ได้ยินว่า 2อ.พระราธะนั้น  3เป็นพราหมณ์ผู้ถึงแล้วซึ่งยาก  4ในกรุงสาวัตถี  5ในกาลแห่งตนเป็ นคฤหัสถ์  6ได้เป็นแล้ว ฯ 2โส(ราธเถโร) 1กิร  5คิหิกาเล     4สาวตฺถิยํ 3ทุคฺคตพฺราหฺมโณ
6อโหสิ.
1อ.ราธะพราหมณ์นั้น 2 คิดแล้วว่า(“)  3อ. เรา  4จักเป็นอยู่ 5ในสำนัก 6แห่งภิกษุ ท. ดังนี ้(“) 7ไปแล้ว 8สู่วิหาร 9กระทำอยู่ซึ่งภาคพื ้น  10ให้มีของเขียวไปปราศแล้ว  11กวาดอยู่ซึ่งบริเวณ  12ถวายอยู่  ซึ่งวัตถุ ท. 13มีน้ำเป็นเครื่องล้างซึ่งหน้าเป็นต้น  14อยู่แล้วในวิหาร15แม้ อ. ภิกษุ ท. 16สงเคราะห์แล้ว 17ซึ่งราธะพราหมณน์นั ้น, 18แต่ว่า 19อ. ภิกษุ ท. 20ย่อมไม่ปรารถนา 21เพื่ออัน 22ยังราธะพราหมณ์นั ้น 23ให้บรรพชา ฯ 24อ.ราธพราหมณน์นั้น  25เมื่อไม่ได้  26ซึ่งการบรรพชา 27เป็นผู้ผ่ายผอม 28ได้เป็นแล้ว ฯ 1โส(ราธเถโร) “3(อหํ) 6ภิกฺขูนํ 5สนฺติเก 4ชีวิสฺสามีติ 2จินฺเตตฺวา
8วิหารํ 7คนฺตฺวา 10อปริตํ  (ฐานํ) 9กโรนฺโต 11ปริเวณํสมฺมชฺชนฺโต 13มุขโธวนาทีนิ (วตฺถูนิ) 12ททนฺโต  วิหาเร  14วสิฯ
15ภิกฺขูปิ 17นํ(พฺราหฺมณํ) 16สงฺคณฺหึสุ,22(ตํ พฺราหฺมณํ)  23ปพฺพาเชตุํ<–21 19(ภิกฺขูนํ) 18ปน 20 อิจฺฉนฺติ.
24โส(ราธเถโร) 26ปพฺพชฺชํ 25อลภมาโน 27กิโส 28อโหสิ.
1ครั้งนั้น ในวันหนึ่ง 2อ.พระบรมศาสดา 3ทรงตรวจดูอยู่  4ซึ่งโลก 5ในกาลอันเป็นที่กำจัดเฉพาะซึ่งมืด  6ทอดพระเนตรเห็นแล้ว  7ซึ่งพราหมณน์นั้น 8ทรงใคร่ครวญอยู่ว่า(“)  9อ.เหตุอะไร หนอแล ดังนี ้(“)
10ทรงทราบแล้วว่า 11(อ.ราธะพราหมณ์นั้น)  12เป็นพระอรหันต์ 13จักเป็น  ดังนี ้(“) 14เป็นราวกะว่า/เสด็จเที่ยวไปอยู่  15สู่ที่จาริกในวิหาร  16ในสมัยอันเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน (เป็น)  17เสด็จไปแล้ว/18สู่สำนัก 19ของพราหมณ์
20ตรัสแล้ว  ว่า(“)  21ดูก่อนพราหมณ์  22(อ.ท่าน) 23ทำอยู่/24ซึ่งอะไร  25ย่อมเที่ยวไป  ดังนี ้(“)
1อเถกทิวสํ(อถ+เอกทิวสํ)  2สตฺถา 5ปจฺจูสกาเล 4โลกํ  3โวโลเกนฺโต
7ตํ พฺราหฺมณํ 6ทิสฺวา “9กินฺนุ โขติ 8อุปธาเรนฺโต  “11(โส พฺราหฺมโณ)  12อรหา  13ภวิสฺสตีติ  10ญตฺวา 16สายณฺหสมเย  15วิหารจาริกํ
14จรนฺโต วิย 19พฺราหฺมณสฺส  18สนฺติกํ 17คนฺตฺวา
21พฺราหฺมณ  24กึ  22(ตฺวํ) 23กโรนฺโต  25วิจรสีติ  20อาห.
1(อ. พราหมณ์ 2กราบทูลแล้ว) ว่า 3ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  4อ.ข้าพระองค์ 5กระทำอยู่/6ซึ่งวัตรและวัตรตอบ 7แก่ภิกษุ ท. ดังนี ้(“) ฯ
8อ.พระบรมศาสดา 9ตรัสถามแล้วว่า(“) 10อ. ท่าน  ย่อมได้ ซึ่งการสงเคราะห์  จากสำนัก ของภิกษุ ท. เหล่านั ้น หรือ ดังนี ้ ฯ (อ.พราหมณ์  กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระเจ้าข้า อ.อย่างนั ้น
อ.ข้าพระองค์ ย่อมได้ ซึ่งวัตถุอันมีอาหารเป็ นประมาณ, แต่ว่า  อ.ภิกษุ ท. เหล่านั้น  ย่อมยังข้าพระองค์ให้บรรพชา หามิได้ ดังนี ้ ฯ
1(โส พฺราหฺมโณ)7ภิกฺขูนํ 6วตฺตปฺปฏิวตฺตํ 5กโรมิ 4(อหํ) 3ภนฺเตติ 2อาห.
8(สตฺถา)  “10(ตฺวํ)ลภสิ เตสํ สนฺติกา สงฺคหนฺติ. “อาม ภนฺเต,อาหารมตฺตํ ลภามิ, น ปน มํ ปพฺพาเชนฺตีติ.
อ.พระศาสดา ทรงยังหมู่แห่งภิกษุ ให้ประชุมกันแล้ว  ในเพราะเหตุนั่น ตรัสถามแล้ว ซึ่งเนื ้อความนั ้น ตรัสถามแล้ว ว่า  ดูก่อนภิกษุ ท. อ. ใคร ๆ ผู้ระลึกถึงอยู่ ซึ่งคุณอันบุคคลพึงกระทำยิ่ง
ของพราหมณ์นี ้ มีอยู่หรือ ดังนี ้ ฯ อ.พระเถระชื่อว่าสารีบุตร  กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.ข้าพระองค์ ย่อมระลึกได้,
อ.พราหมณ์นี ้ ยังบุคคล ให้ถวายแล้ว ซึ่งภิกษาอันมีทัพพีหนึ่ง
เป็ นประมาณ อันอันบุคคล นำมาแล้ว เพื่อตน แก่ข้าพระองค์  ผู้เที่ยวไปอยู่ เพื่อก้อนข้าว ในกรุงราชคฤห์, อ.ข้าพระองค์  ย่อมระลึกถึงได้ ซึ่งคุณอันบุคคลพึงกระทำยิ่ง ของพราหมณ์นี ้
ดังนี ้ ฯ อ.พระเถระชื่อว่าสารีบุตรนั ้น (ครั ้นเมื่อพระดำรัส) ว่า  ดูก่อนสารีบุตร ก็ อ.อันอันเธอ ยังพราหมณ์ผู้มีอุปการะอันตน  กระทำแล้วอย่างนี ้ ให้พ้นจากความทุกข์ ย่อมไม่ควรหรือ ดังนี ้
อันพระบรมศาสดา ตรัสแล้ว กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  อ.ดีละ อ.ข้าพระองค์ ยังพราหมณ์นั ้น จักให้บรรพชา ดังนี ้
ยังพราหมณ์นั ้น ให้บรรพชาแล้ว ฯ
สตฺถา เอตสฺมึ นิทาเน ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา
ตมตฺถํ ปุจฺฉิตฺวา “ภิกฺขเว อตฺถิ โกจิ อิมสฺส
พฺราหฺมณสฺส อธิการํ สรนฺโตติ ปุจฺฉิ. สารีปุตฺตตฺเถโร
“อหํ ภนฺเต สรามิ,
อยํ เม ราชคเห ปิ ณฺฑาย จรนฺตสฺส อตฺตโน
อภิหฏํ กฏจฺฉุภิกฺขํ ทาเปสิ, อิมสฺสาหํ อธิการํ
สรามีติ อาห. โส, สตฺถารา “กึ ปน เต สารีปุตฺต
เอวํ กโตปการํ ทุกฺขโต โมเจตุํ น วฏฺ ฏตีติ วุตฺเต,
“สาธุ ภนฺเต, ปพฺพาเชสฺสามีติ ตํ พฺราหฺมณํ
ปพฺพาเชสิ.
อ.อาสนะ ในที่สุดรอบแห่งอาสนะ ในโรงแห่งภัตร ย่อมถึง  แก่ภิกษุชื่อว่าราธะนั ้น, (อ.ภิกษุชื่อว่าราธะนั ้น) ย่อมลำบาก  (ด้วยวัตถุ ท.) มีข้าวต้มและข้าวสวยเป็ นต้น ฯ อ. พระเถระ  พาเอา ซึ่งภิกษุชื่อว่าราธะนั ้น หลีกไปแล้ว สู่ที่จาริก กล่าวสอนแล้ว
ตามสอนแล้ว ซึ่งภิกษุชื่อว่าราธะนั ้น เนือง ๆ ว่า อ. กรรมนี ้ อันเธอ  พึงกระทำ, อ.กรรมนี ้ อันเธอ ไม่พึงกระทำ ดังนี ้ ฯ
ตสฺส ภตฺตคฺเค อาสนปริยนฺเต อาสนํ
ปาปุณาติ, ยาคุภตฺตาทีหิ กิลมติ. เถโร ตํ อาทาย
จาริกํ ปกฺกามิ, อภิกฺขณํ นํ “อิทนฺเต กตฺตพฺพํ,
อิทนฺเต น กตฺตพฺพนฺติ โอวทิ อนุสาสิ.
อ.ภิกษุชื่อว่าราธะนั ้น เป็ นผู้อันบุคคลพึงว่าได้โดยง่าย  เป็นผู้รับซึ่งโอวาทโดยเบื ้องขวาโดยปกติ ได้เป็นแล้ว; เพราะเหตุนั ้น  (อ. ภิกษุชื่อว่าราธะนั ้น) ปฏิบัติอยู่ ตามคำอันพระเถระพร�่าสอนแล้ว  บรรลุแล้ว ซึ่งพระอรหัต โดยวันเล็กน้อยนั่นเทียว ฯ อ. พระเถระ  พาเอา ซึ่งภิกษุชื่อว่าราธะนั ้น ไปแล้ว สู่สำนัก ของพระศาสดา
ถวายบังคมแล้ว นั่งแล้ว ฯ
โส สุวโจ อโหสิ ปทกฺขิณคฺคาหี; ตสฺมา
ยถานุสิฏฺฺฐํ ปฏิปชฺชมาโน กติปาเหเนว อรหตฺตํ
ปาปุณิ. เถโร ตํ อาทาย สตฺถุ สนฺติกํ คนฺตฺวา
วนฺทิตฺวา นิสีทิ.
ครั ้งนั ้น อ.พระศาสดา ทรงกระทำแล้ว ซึ่งปฏิสันถาร ตรัสแล้ว  กะพระเถระนั้น  ว่า  ดูก่อนสารีบุตร อ. อันเตวาสิก ของเธอ เป็น  ผู้อันบุคคลพึงว่าได้โดยง่ายหรือ หนอแล (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ อถ นํ สตฺถา ปฏิสนฺถารํ กตฺวา อาห “สุวโจ นุ โข เต สารีปุตฺต อนฺเตวาสิโกติ,
(อ. พระเถระนั ้น กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
พระเจ้าข้า อ.อันเตวาสิก ของข้าพระองค์ เป็ นผู้อันบุคคล
พึงว่าได้โดยง่าย เกินเปรียบ (ย่อมเป็ น) , ครั ้นเมื่อโทษอะไร ๆ
แม้อันข้าพระองค์ กล่าวอยู่, (อ.อันเตวาสิกนั ้น) เป็ นผู้เคยโกรธแล้ว
(ย่อมเป็ น) หามิได้ ดังนี ้ ฯ
“อาม ภนฺเต, อติวิย สุวโจ, กิสฺมิญฺจิ โทเส
วุจฺจมาเนปิ , น กุทฺธปุพฺโพติ.
(อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ว) ว่า ดูก่อนสารีบุตร อ. เธอ
เมื่อได้ ซึ่งสัทธิวิหาริก ท. มีอย่างนี ้เป็ นรูป พึงรับ ซึ่งสัทธิวิหาริก ท.
มีประมาณเท่าไร ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ กราบทูลแล้ว) ว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. ข้าพระองค์ พึงรับ ซึ่งสัทธิวิหาริก ท.
แม้มากนั่นเทียว ดังนี ้ ฯ
“สารีปุตฺต เอวรูเป สทฺธิวิหาริเก ลภมาโน
กิตฺตเก คณฺเหยฺยาสีติ. “ภนฺเต พหุเกปิ
คเหยฺยาเมวาติ.
ครั ้งนั ้น ในวันหนึ่ง อ. ภิกษุ ท. ยังวาจาเป็ นเครื่องกล่าว
ให้ตั ้งขึ ้นพร้อมแล้ว ในโรงเป็ นที่กล่าว กับด้วยการแสดงซึ่งธรรม
ว่า ได้ยินว่า อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตร เป็ นผู้กตัญญู เป็ นผู้กตเวที
(เป็ น) ระลึกถึงแล้ว ซึ่งอุปการะ มีภิกษามีทัพพีหนึ่งเป็ นประมาณ
ยังพราหมณ์ผู้ถึงแล้วซึ่งยาก ให้บวชแล้ว ; แม้ อ. พระเถระ
ชื่อว่าราธะ เป็ นผู้อดทนต่อโอวาท (เป็ น) ได้แล้ว (ซึ่งอาจารย์)
ผู้อดทน ต่อโอวาทนั่นเทียว ดังนี ้ ฯ
อเถกทิวสํ ธมฺมสภายํ ภิกฺขู กถํ สมุฏฺฐาเปสุํ
“สารีปุตฺตตฺเถโร กิร กตญฺญู กตเวที กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตํ
อุปการํ สริตฺวา ทุคฺคตพฺราหฺมณํ ปพฺพาเชสิ;
ราธตฺเถโรปิ โอวาทกฺขโม โอวาทกฺขมเมว ลภีติ.
อ. พระศาสดา ทรงสดับแล้ว ซึ่งวาจาเป็ นเครื่องกล่าว ของ
ภิกษุ ท.เหล่านั ้น ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. สารีบุตร เป็ น
ผู้กตัญญู เป็ นผู้กตเวที ย่อมเป็ น) ในกาลนี ้นั่นเทียว หามิได้,
อ. สารีบุตร เป็ นผู้กตัญญู เป็ นผู้กตเวทีนั่นเทียว (ได้เป็ นแล้ว)
แม้ในกาลก่อน ดังน
สตฺถา เตสํ กถํ สุตฺวา “น ภิกฺขเว อิทาเนว,
ปุพฺเพปิ สารีปุตฺโต กตญฺญู กตเวทีเยวาติ วตฺวา
ตมตฺถํ ปกาเสตุ