บทสวด เสขิยวัตร ๗๕

บทสวดพระปาฏิโมกข์
บทสวด เสขิยวัตร ๗๕

อิเม โข ปะนายัส๎มันโต (ปัญจะสัตตะติ) เสขิยา ธัมมา อุทเทสัง อาคัจฉันติ.

๑. “ปะริมัณฑะลัง นิวาเสสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒. “ปะริมัณฑะลัง ปารุปิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๓. “สุปะฏิจฉันโน อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๔. “สุปะฏิจฉันโน อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๕. “สุสังวุโต อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๖. “สุสังวุโต อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๗. “โอกขิตตะจักขุ อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๘. “โอกขิตตะจักขุ อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๙. “นะ อุกขิตตะกายะ อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๐. “นะ อุกขิตตะกายะ อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๑. “นะ อุชชัคฆิกายะ อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๒. “นะ อุชชัคฆิกายะ อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๓. “อัปปะสัทโท อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๔. “อัปปะสัทโท อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๕. “นะ กายัปปะจาละกัง อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๖. “นะ กายัปปะจาละกัง อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๗. “นะ พาหุปปะจาละกัง อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๘. “นะ พาหุปปะจาละกัง อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๙. “นะ สีสัปปะจาละกัง อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๐. “นะ สีสัปปะจาละกัง อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๑. นะ ขัมภะกะโต อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๒. “นะ ขัมภะกะโต อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๓. “นะ โอคุณฐิโต อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๔. “นะ โอคุณฐิโต อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๕. “นะ อุกกุฏิกายะ อันตะระฆะเร คะมิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๖. “นะ ปัลลัตถิกายะ อันตะระฆะเร นิสีทิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

ฉัพพีสะติ สารุปปา.

๑. “สักกัจจัง ปิณฑะปาตัง ปะฏิคคะเหสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒. “ปัตตะสัญญี ปิณฑะปาตัง ปะฏิคคะเหสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๓. “สะมะสูปะกัง ปิณฑะปาตัง ปะฏิคคะเหสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๔. “สะมะติตติกัง ปิณฑะปาตัง ปะฏิคคะเหสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๕. “สักกัจจัง ปิณฑะปาตัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๖. “ปัตตะสัญญี ปิณฑะปาตัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๗. “สะปะทานัง ปิณฑะปาตัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๘. “สะมะสูปะกัง ปิณฑะปาตัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๙. “นะ ถูปะโต โอมัททิต๎วา ปิณฑะปาตัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๐. “นะ สูปัง วา พ๎ยัญชะนัง วา โอทะเนนะ ปะฏิจฉา เทสสามิ ภิยโย กัม๎ยะตัง อุปาทายาติ สิกขา กะระณียา.

๑๑. “นะ สูปัง วา โอทะนัง วา อะคิลาโน อัตตะโน อัตถายะ วิญญาเปต๎วา ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๒. “นะ อุชฌานะสัญญี ปะเรสัง ปัตตัง โอโลเกสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๓. “นาติมะหันตัง กะวะฬัง กะริสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๔. “ปะริมัณฑะลัง อาโลปัง กะริสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๕. “นะ อะนาหะเฏ กะวะเฬ มุขะท๎วารัง วิวะริสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๖. “นะ ภุญชะมาโน สัพพัง หัตถัง มุเข ปักขิปิสสามีติสิกขา กะระณียา.

๑๗. “นะ สะกะวะเฬนะ มุเขนะ พ๎ยาหะริสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๘. “นะ ปิณฑุกเขปะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๙. “นะ กะวะฬาวัจเฉทะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๐. “นะ อะวะคัณฑะการะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๑. “นะ หัตถะนิทธูนะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๒. “นะ สิตถาวะการะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๓. “นะ ชิวหานิจฉาระกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๔. “นะ จะปุจะปุการะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๕. “นะ สุรุสุรุการะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๖. “นะ หัตถะนิลเลหะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๗. “นะ ปัตตะนิลเลหะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๘. “นะ โอฏฐะนิลเลหะกัง ภุญชิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒๙. “นะ สามิเสนะ หัตเถนะ ปานียะถาละกัง ปะฏิคคะ เหสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๓๐. “นะ สะสิตถะกัง ปัตตะโธวะนัง อันตะระฆะเร ฉัฑเฑสสามีติ สิกขา กะระณียา.

สะมะติงสะ โภชะนะปะฏิสังยุตตา.

๑. “นะ ฉัตตะปาณิสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๒. “นะ ทัณฑะปาณิสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๓. “นะ สัตถะปาณิสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติสิกขา กะระณียา.

๔. “นะ อาวุธะปาณิสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติสิกขา กะระณียา.

๕. “นะ ปาทุการูฬ๎หัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติสิกขา กะระณียา.

๖. “นะ อุปาหะนารูฬ๎หัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๗. “นะ ยานะคะตัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๘. “นะ สะยะนะคะตัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติสิกขา กะระณียา.

๙. “นะ ปัลลัตถิกายะ นิสินนัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๐. “นะ เวฏฐิตะสีสัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติสิกขา กะระณียา.

๑๑. “นะ โอคุณฐิตะสีสัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๒. “นะ ฉะมายัง นิสีทิต๎วา อาสะเน นิสินนัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๓. “นะ นีเจ อาสะเน นิสีทิต๎วา อุจเจ อาสะเน นิสินนัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๔. “นะ ฐิโต นิสินนัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติสิกขา กะระณียา.

๑๕. “นะ ปัจฉะโต คัจฉันโต ปุระโต คัจฉันตัสสะ อะคิลา นัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๑๖. “นะ อุปปะเถนะ คัจฉันโต ปะเถนะ คัจฉันตัสสะ อะคิลานัสสะ ธัมมัง เทสิสสามีติ สิกขา กะระณียา.

โสฬะสะ ธัมมะเทสะนาปะฏิสังยุตตา.

๑. “นะ ฐิโต อะคิลาโน อุจจารัง วา ปัสสาวัง วา กะริสสามีติสิกขา กะระณียา.

๒. “นะ หะริเต อะคิลาโน อุจจารัง วา ปัสสาวัง วา เขฬัง วา กะริสสามีติ สิกขา กะระณียา.

๓. “นะ อุทะเก อะคิลาโน อุจจารัง วา ปัสสาวัง วา เขฬัง วา กะริสสามีติ สิกขา กะระณียา.

ตะโย ปะกิณณะกา.

อุททิฏฐา โข อายัส๎มันโต (ปัญจะสัตตะติ) เสขิยา ธัมมา.
ตัตถายัส๎มันเต ปุจฉามิ. กัจจิตถะ ปะริสุทธา ?
ทุติยัมปิ ปุจฉามิ. กัจจิตถะ ปะริสุทธา ?
ตะติยัมปิ ปุจฉามิ. กัจจิตถะ ปะริสุทธา ?
ปะริสุทเธตถายัส๎มันโต ตัส๎มา ตุณ๎หี , เอวะเมตัง ธาระยามิ.

เสขิยา นิฏฐิตา.

 คำแปล พระภิกขุปาฏิโมกข์

เสขิยะ
( เสขิยะ ๗๕)

ท่านทั้งหลาย ธรรมชื่อเสขิยะเหล่านี้แล ย่อมมาสู่อุทเทส.

๑. พึงทำศึกษาว่า “เราจักนุ่งเป็นปริมณฑล.”

๒. พึงทำศึกษาว่า “เราจักห่มเป็นปริมณฑล”.

๓. พึงทำศึกษาว่า “เราจักปกปิดกายดีไปในละแวกบ้าน”.

๔. พึงทำศึกษาว่า “เราจักปกปิดกายดีนั่งในละแวกบ้าน

๕. พึงทำศึกษาว่า “เราจักสำรวมดีไปในละแวกบ้าน”.

๖. พึงทำศึกษาว่า “เราจักสำรวมดี นั่งในละแวกบ้าน.”

๗. พึงทำศึกษาว่า “เราจักมีตาทอดลงไปในละแวกบ้าน.”

๘. พึงทำศึกษาว่า “เราจักมีตาทอดลงนั่งในละแวกบ้าน.”

๙. พึงทำศึกษาว่า”เราจักไม่ไปในละแวกบ้านด้วยทั้งเวิกผ้า.”

๑๐. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่นั่งในละแวกบ้าน ด้วยทั้งเวิกผ้า.”

ปะริมัณฑะละวรรค ที่หนึ่งจบ

๑๑. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ไปในละแวกบ้าน ด้วยทั้งความ หัวเราะลั่น.”

๑๒. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่นั่งในละแวกบ้าน ด้วยทั้งความหัวเราะลั่น.”

๑๓. พึงทำศึกษาว่า “เราจักมีเสียงน้อยไปในละแวกบ้าน.”

๑๔. พึงทำศึกษาว่า “เราจักมีเสียงน้อยนั่งในละแวกบ้าน.”

๑๕. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่โยกกายไปในละแวกบ้าน.”

๑๖.พึงทำศึกษาว่า”เราจักไม่โยกกายนั่งในละแวกบ้าน.”

๑๗. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ไกวแขนไปในละแวกบ้าน.”

๑๘.พึงทำศึกษาว่า”เราจักไม่ไกวแขนนั่งในละแวกบ้าน”

๑๙. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่โคลงศีรษะไปในละแวกบ้าน.”

๒๐. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่โคลงศีรษะนั่งในละแวกบ้าน.”

นะ อุชชัคคิกะวรรค ที่สองจบ

๒๑. พึงทำศึกษาว่า”เราจักไม่ทำความค้ำไปในละแวกบ้าน.”

๒๒. พึงทำศึกษาว่า”เราจักไม่ทำความค้ำนั่งในละแวกบ้าน.”

๒๓. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่คลุม (ศีรษะ) ไปในละแวกบ้าน.”

๒๔. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่คลุม (ศีรษะ) นั่งในละแวกบ้าน.”

๒๕. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ไปในในละแวกบ้าน ด้วยทั้งความกระโหย่ง .”

๒๖. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่นั่งในในละแวกบ้าน ด้วยทั้งความรัดเข่า .”

๒๗. พึงทำศึกษาว่า “เราจักรับบิณฑบาตโดยเอื้อเฟื้อ”

๒๘. พึงทำศึกษา”เราจักจ้องดูอยู่ในบาตรรับิณฑบาต”

๒๙. พึงทำศึกษาว่า”เราจักรับบิณฑบาตมีสูปะเสมอกัน

๓๐. พึงทำศึกษาว่า “เราจักรับบิณฑบาตเสมอขอบ”

นะ ขัมภะกะตะวรรค ที่สามจบ

๓๑. พึงทำศึกษาว่า “เราจักฉันบิณฑบาตโดยเอื้อเฟื้อ.”

๓๒. พึงทำศึกษาว่า “เราจักจ้องดูอยู่ในบาตรฉันบิณฑบาต.”

๓๓. พึงทำศึกษาว่า “เราจักฉันบิณฑบาตไม่แหว่ง.”

๓๔.พึงทำศึกษาว่า”เราจักฉันบิณฑบาตมีสูปะเสมอกัน”

๓๕. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ขยุมลงแต่ยอดฉันบิณฑบาต.”

๓๖. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่กลบแกงก็ดี กับข้าวก็ดี ด้วยข้าวสุก อาศัยความอยากได้มาก.”

๓๗. พึงทำศึกษาว่า “เราไม่อาพาธ จักไม่ขอสูปะก็ดี ข้าวสุกก็ดี เพื่อประโยชน์แก่ตนฉัน.”

๓๘. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่เพ่งโพนทะนาแลดูบาตรของผู้อื่น.”

๓๙. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ทำคำข้าวให้ใหญ่นัก.”

๔๐. พึงทำศึกษาว่า “เราจักทำคำข้าวให้กลมกล่อม.”

สักกัจจะวรรค ที่สี่จบ

๔๑. พึงทำศึกษาว่า “เมื่อคำข้าวยังไม่นำมาถึง เราจักไม่อ้าช่องปาก.”

๔๒. พึงทำศึกษาว่า “เราฉันอยู่ จักไม่สอดมือทั้งนั้นเข้าในปาก

๔๓. พึงทำศึกษาว่า “ปากยังมีคำข้าวเราจักไม่พูด.”

๔๔. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ฉันเดาะ คำข้าว

๔๕. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ฉันกัดคำข้าว.”

๔๖. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ฉันทำให้ตุ่ย

๔๗. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ฉันสลัดมือ.”

๔๘. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ฉันทำเมล็ดข้าวตก.”

๔๙. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ฉันแลบลิ้น

๕๐. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ฉันทำเสียงจับๆ

นะ อะนาหะฏะวรรค ที่ห้าจบ

๕๑. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ฉันทำเสียงซูดๆ

๕๒. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ฉันเลียมือ.”

๕๓. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ฉันขอดบาตร.”

๕๔. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่ฉันเลียริมฝีปาก.”

๕๕. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่รับโอน้ำด้วยมือเปื้อนอามิส.”

๕๖. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่เทน้ำล้างบาตรมีเมล็ดข้าวในละแวกบ้าน.”

๕๗. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ มีร่มในมือ.”

๕๘. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้มีไม้พลองในมือ.”

๕๙. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้มีศัสตราในมือ.”

๖๐. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บ ไข้มีอาวุธในมือ.”

นะ สุรุสุรุการะกะวรรค ที่หกจบ

๖๑. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้สวมเขียงเท้า.”

๖๒. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้สวมรองเท้า.”

๖๓. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ไปในยาน.”

๖๔. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้อยู่บนที่นอน.”

๖๕ . พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้นั่งรัดเข่า.”

๖๖. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้พันศีรษะ.”

๖๗. พึงทำศึกษาว่า “เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้คลุมศีรษะ.”

๖๘. พึงทำศึกษาว่า “เรานั่งอยู่ที่แผ่นดินจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผู้นั่งบนอาสนะ.”

๖๙. พึงทำศึกษาว่า “เรานั่งบนอาสนะต่ำจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผู้นั่งบนอาสนะสูง.”

๗๐. พึงทำศึกษาว่า “เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผู้นั่งอยู่.”

นะ ปาทุกะวรรค ที่เจ็ดจบ

๗๑. พึงทำศึกษาว่า “เราเดินไปข้างหลังจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผู้เดินไปข้างหน้า.”

๗๒. พึงทำศึกษาว่า “เราเดินไปนอกทางจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผู้ไปอยู่ในทาง.”

๗๓. พึงทำศึกษาว่า “เราไม่อาพาธ จักไม่ยืนถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะ.”

๗๔. พึงทำศึกษาว่า “เราไม่อาพาธ จักไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนเขฬะบนของสดเขียว.”

๗๕. พึงทำศึกษาว่า “เราไม่อาพาธ จักไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนเขฬะในน้ำ

นะ ปัจฉะโตวรรค ที่แปดจบ

ท่านทั้งหลาย ธรรมทั้งหลายชื่อเสขิยข้าพเจ้าแสดงขึ้นแล้ว.
ข้าพเจ้าถามท่านทั้งหลายในเรื่องนั้น
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้วหรือ ?
ข้าพเจ้าถามแม้ครั้งที่ ๒ ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้วหรือ ?
ข้าพเจ้าถามแม้ครั้งที่ ๓ ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้วหรือ ?
ท่าน ทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธิ์แล้วในเรื่องนั้นเพราะฉะนั้น จึงนิ่ง.
ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.

เสขิยะ จบ.