พระเจ้าวิฑูฑภะ
    อ.พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี ทรงปรารภ ซึ่งพระเจ้าวิฑูฑภะ ผู้เป็นไปกับด้วยบริษัท ผู้อันห้วงน้ำท่วมทับแล้ว ให้สวรรคตแล้ว ตรัสแล้ว ซึ่งประธรรมเทศนา นี้ ว่า ปุปฺผานิ เหว ปจินนฺตํ ดังนี้เป็นต้น ฯ0  1“ปุปฺผานิ 2เหว 3ปจินนฺตนฺติ 4อิมํ 5ธมฺมเทสนํ 6สตฺถา 7สาวตฺถิยํ 8วิหรนฺโต 9สปริสํ 10โอเฆน 11อชฺโฌตฺถริตฺวา 12มาริตํ 13วิฑูฑภํ 14อารพฺภ 15กเถสิ.
สตฺถา วิหรนฺโต สาวตฺถิยํ อารพฺภ วิฑูฑภํ สปริสํ โอเฆน อชฺโฌตฺถริตฺวา มาริตํ กเถสิ อิมํ ธมฺมเทสนํ“ปุปฺผานิ เหว ปจินนฺตนฺติ.
    อ.วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ ในเรื่องนั้น นี้, อ.พระกุมาร ท. สามเหล่านี้ คือ อ.พระโอรสของพระราชาพระนาม ว่ามหาโกศล ในพระนคร ชื่อว่าสาวัตถี พระนามว่าปเสนทิกุมาร, อ.พระกุมาร ของเจ้าลิจฉวี ในพระนครชื่อว่าเวสาลี พระนามว่ามหาลิ อ.พระโอรสของเจ้ามัลละ ในพระนครชื่อว่ากุสินารา พระนามว่า พันธุละ เสด็จไปแล้ว สู่พระนครชื่อว่าตักกสิลา เพื่ออันเรียน ซึ่งศิลปะ ในสำนัก ของอาจารย์ผู้ทิศาปาโมกข์ เสด็จมาพร้อมกันแล้ว ที่ศาลา ในภายนอกแห่งพระนคร ตรัสถามแล้ว ซึ่งเหตุแห่งตนมาแล้วด้วย ซึ่งตระกูลด้วย ซึ่งพระนามด้วย ของกันและกัน เป็นพระสหายกัน เป็น เสด็จเข้าไปหาแล้ว ซึ่งอาจารย์ โดยความเป็นอันเดียวกันเทียว ผู้มีศิลปะอันเรียนแล้วต่อกาลไม่นานนั่นเทียว ทรงอำลาแล้ว ซึ่งอาจารย์ เสด็จออกไปแล้ว โดยความเป็นอันเดียว กันเทียว ได้เสด็จไปแล้ว สู่ที่ของตน ๆ ฯ2  1ตตฺรายํ 2อนุปุพฺพีกถา: 3“สาวตฺถิยํ 4มหาโกสลรญฺโญ 5ปุตฺโต 6ปเสนทิกุมาโร 7นาม, 8เวสาลิยํ 9ลิจฺฉวิกุมาโร 10มหาลิ 11นาม, 12กุสินารายํ 13มลฺลราชปุตฺโต 14พนฺธุโล 15นามาติ 16อิเม 17ตโย 18ทิสาปาโมกฺขสฺสาจริยสฺส 19สนฺติเก 20สิปฺปุคฺคหณตฺถํ 21ตกฺกสิลํ 22คนฺตฺวา 23พหินคเร 24สาลายํ 25สมาคตา 26อญฺญมญฺญสฺส 27อาคตการณญฺจ 28กุลญฺจ 29นามญฺจ 30ปุจฺฉิตฺวา 31สหายกา 32หุตฺวา 33เอกโตว 34อาจริยํ 35อุปสงฺกมิตฺวา 36 37จิรสฺเสว 38อุคฺคหิตสิปฺปา 39อาจริยํ 40อาปุจฺฉิตฺวา 41เอกโตว 42นิกฺขมิตฺวา 43สกสกฏฺานานิ 44อคมํสุ.
    อ.พระกุมาร พระนามว่า มหาลิ เมื่อทรงแสดง ซึ่งศิลปะ แก่เจ้าลิจฉวี ท. ทรงแสดงแล้ว ด้วยความอุตสาหะใหญ่ ฯ4  1มหาลิกุมาโร 2ลิจฺฉวีนํ 3สิปฺปํ 4ทสฺเสนฺโต 5มหนฺเตน 6อุสฺสาเหน 7ทสฺเสสิ.
    อ.พระเนตร ท. ของพระกุมารพระนามว่ามหาลินั้น ได้แตกไปแล้ว ฯ5  1ตสฺส 2อกฺขีนิ 3ภิชฺชิตฺวา 4อคมํสุ.
    อ.-ในพระกุมาร ท. สาม เหล่านั้นหนา-พระกุมารพระนามว่า ปเสนทิ ทรงแสดงแล้ว ซึ่งศิลปะแก่พระบิดา อันพระบิดา ผู้ทรง เลื่อมใสแล้ว อภิเษกแล้ว ในความเป็นแห่งพระราชา ฯ3  1เตสุ 2ปเสนทิกุมาโร 3ปิตุ 4สิปฺปํ 5ทสฺเสตฺวา 6ปสนฺเนน 7ปิ 8ตรา 9รชฺเช 10อภิสิตฺโต.
    อ.เจ้าลิจฉวี ท. (ทรงปรึกษากันแล้ว) ว่า โอ หนอ อ.อาจารย์ ของเรา ท. ทรงถึงแล้ว ซึ่งความพินาศแห่งนัยน์ตา, อ.เรา ท. จักไม่สละรอบ ซึ่งอาจารย์นั้น อ.เรา ท. จักบำรุง ซึ่งอาจารย์นั้น ดังนี้ ได้ถวายแล้ว ซึ่งประตู ประตูหนึ่ง อันเป็นที่ตั้งขึ้นแห่งแสน- แห่งทรัพย์ แก่พระกุมารพระนามว่ามหาลินั้น ฯ6  1ลิจฺฉวิราชาโน 2“อโห 3วต 4อมฺหากํ 5อาจริโย 6อกฺขิวินาสํ 7ปตฺโต, 8 9ตํ 10ปริจฺจชิสฺสาม 11อุปฏฺหิสฺสาม 12นนฺติ 13ตสฺส 14สตสหสฺสุฏฺานกํ 15เอกํ 16ทฺวารํ 17อทํสุ.
    อ.พระกุมารพระนามว่ามหาลินั้น ทรงอาศัยแล้ว ซึ่งประตูนั้น ทรงยังโอรสของเจ้าลิจฉวี ท. มีร้อยห้าเป็นประมาณ ให้ศึกษาอยู่ ซึ่งศิลปะ ประทับอยู่แล้ว ฯ7  1โส 2ตํ 3นิสฺสาย 4ปญฺจสเต 5ลิจฺฉวิราปุตฺเต 6สิปฺปํ 7สิกฺขาเปนฺโต 8วสิ.
    อ.พระกุมารพระนามว่าพันธุละ, (ครั้นเมื่อพระดำรัส) ว่า (อ.เจ้าพันธุละ) จงฟัน (ซึ่งมัดหกสิบ ท.) เหล่านี้ ดังนี้ อันตระกูล แห่งเจ้ามัลละ ท. ตรัสแล้ว, ทรงกระโดดขึ้นแล้ว สู่อากาศ มีศอก แปดสิบเป็นประมาณทรงฟันอยู่ ซึ่งมัดหกสิบ ท. อัน (อันตระกูล แห่งเจ้ามัลละ ท.) ทรงถือเอาแล้ว ซึ่งไม้ไผ่ ท. หกสิบ ทรงใส่เข้าแล้ว ซึ่งซี่อันเป็นวิการแห่งเหล็ก ในท่ามกลาง ทรงให้ยกขึ้นแล้ว ทรงตั้ง ไว้แล้ว ด้วยดาบ ได้เสด็จไปแล้ว ฯ8  1พนฺธุลกุมาโร 2สฏฺี 3เวฬู 4คเหตฺวา 5มชฺเฌ 6อยสลากํ 7ปกฺขิปิตฺวา 8สฏฺิกลาเป 9อุสฺสาเปตฺวา 10ปิ 11เต, 12มลฺลราชกุเลหิ 13“อิเม 14กปฺเปตูติ 15วุตฺเต, 16อสีติหตฺถํ 17อากาสํ 18อุลฺลงฺฆิตฺวา 19อสินา 20กปฺเปนฺโต 21อคมาสิ.
    อ.พระกุมารพระนามว่าพันธุละนั้น ทรงสดับแล้ว ซึ่งเสียง ว่า กิริ ดังนี้ ของซี่อันเป็นวิการแห่งเหล็ก ในมัดอันเป็นที่สุดลง ตรัสถามแล้ว ว่า อ.สัททชาตินั่น อะไร ดังนี้ ทรงสดับแล้ว ซึ่งความที่ แห่งซี่อันเป็นวิการแห่งเหล็ก ท. เป็นของอัน (อันตระกูลแห่งเจ้า มัลละ ท.) ทรงตั้งไว้แล้ว ในมัดทั้งปวง ท. ทรงทิ ้งแล้ว ซึ่งดาบ กันแสงอยู่ ตรัสแล้ว ว่า อ.-ในบุคคลผู้มีใจดี ท. ผู้มีประมาณ เท่านี้หนา -บุคคลแม้คนเดียว เป็นผู้เป็นไปกับด้วยความรัก เป็น ไม่บอกแล้ว ซึ่งเหตุนี้ แก่เรา,ก็ ถ้าว่า อ.เรา พึงรู้ไซร้, อ.เรา พึงตัด ยังเสียง ของซี่อันเป็นวิการแห่งเหล็ก ไม่ให้ตั้งขึ้นอยู่เทียว ดังนี้ กราบทูลแล้ว แก่พระมารดาและพระบิดา ท. ว่า อ.หม่อมฉัน (ยังเจ้ามัลละ ท.) เหล่านี้ แม้ทั้งปวง ให้ทิวงคตแล้ว (ยังบุคคล) จักให้กระทำ ซึ่งความเป็น แห่งพระราชา ดังนี้, ผู้ (อันพระมารดาและพระบิดา ท.) ทรงห้ามแล้ว โดยประการต่าง ๆ ว่า แน่ะพ่อ (อ.ความเป็นแห่งพระราชา) นี้ ชื่อว่าเป็นความเป็นแห่งพระราชาตามประเพณี (ย่อมเป็น), (อ.ความเป็นแห่งพระราชานี้) (อันเจ้า) ไม่พึงได้ เพื่ออันกระทำ อย่างนี้ ดังนี้ เป็นต้น ทูลแล้ว ว่า ถ้าอย่างนั้น อ.หม่อมฉัน จักไป สู่สำนัก ของพระสหาย ของหม่อมฉัน ดังนี้ ได้เสด็จไปแล้ว สู่เมืองชื่อว่าสาวัตถี ฯ9  1โส 2โอสานกลาเป 3อยสลากาย 4“กิรีติ 5สทฺทํ 6สุตฺวา 7“กิเมตนฺติ 8ปุจฺฉิตฺวา 9สพฺพกลาเปสุ 10อยสลากานํ 11ปิ 12ตภาวํ 13สุตฺวา 14อสึ 15ฉฑฺเฑตฺวา 16โรทมาโน 17“มยฺหํ 18เอตฺตเกสุ 19ญาติสุหชฺเชสุ 20เอโกปิ 21สสิเนโห 22หุตฺวา 23อิมํ 24การณํ 25นาจิกฺขิ; 26สเจ 27หิ 28อหํ 29ชาเนยฺยํ, 30อยสลากาย 31สทฺทํ 32อนุฏฺาเปนฺโตว 33ฉินฺเทยฺยนฺติ 34วตฺวา 35“สพฺเพปิ 36เม 37มาเรตฺวา 38รชฺชํ 39กาเรสฺสนฺติ 40มาตาปิ 41ตูนํ 42กเถสิ, 43“ปเวณิรชฺชํ 44นาม 45ตาต 46อิทํ, 47 48ลพฺภา 49เอวํ 50กาตุนฺติ 51นานปฺปกาเรน 52วาริโต 53“เตนหิ 54มม 55สหายสฺส 56สนฺติกํ 57คมิสฺสามีติ 58สาวตฺถึ 59อคมาสิ.
    อ.พระราชาพระนามว่าปเสนทิ ทรงสดับแล้ว ซึ่งการเสด็จมา แห่งเจ้าพันธุละนั้น ทรงต้อนรับแล้ว (ทรงยังเจ้าพันธุละ) ให้เสด็จ เข้าไปแล้ว สู่พระนคร ด้วยสักการะอันใหญ่ ทรงตั้งไว้แล้ว ในตำแหน่ง แห่งเสนาบดี ฯ10  1ปเสนทิราชา 2ตสฺสาคมนํ 3สุตฺวา 4ปจฺจุคฺคนฺตฺวา 5มหนฺเตน 6สกฺกาเรน 7นครํ 8ปเวเสตฺวา 9เสนาปติฏฺาเน 10เปสิ.
    อ.เจ้าพันธุละนั้น (ทรงยังบุคคล) ให้ร้องเรียกแล้ว ซึ่งพระมารดาและพระบิดา ท. ทรงสำเร็จแล้ว ซึ่งการประทับอยู่ ในเมืองชื่อว่าสาวัตถีนั้นนั่นเทียว ฯ11  1โส 2มาตาปิ 3ตโร 4ปกฺโกสาเปตฺวา 5ตตฺเถว 6วาสํ 7กปฺเปสิ.
    ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง อ.พระราชา ประทับยืนอยู่แล้ว ในเบื ้อง บนแห่งปราสาท ทรงแลดูอยู่ ซึ่งระหว่างแห่งถนน ทอดพระเนตรเห็นแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. ผู้มีพันมิใช่หนึ่ง ผู้ไปอยู่ เพื่อประโยชน์แก่กิจด้วยภัต ในเรือน ของชน ท. เหล่านี่ คือ ของมหา เศรษฐีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ ของเศรษฐีชื่อว่าจูฬอนาถบิณฑิกะ ของมหาอุบาสิกาชื่อว่าวิสาขา ของอุบาสิกาชื่อว่าสุปปวาสา ตรัสถามแล้วว่า อ.พระผู้เป็นเจ้า ท. ย่อมไป ในที่ไหน ดังนี้ ครั้นเมื่อคำว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อ.พันแห่งภิกษุ ท. สอง ย่อมไป ในเรือน ของมหาเศรษซีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ ทุก ๆ วัน เพื่อประโยชน์แก่ภัต ท. มีนิตยภัตสลากภัตและคิลานภัตเป็นต้น อ.ภิกษุ ท. มีร้อยห้าเป็นประมาณ ย่อมไป สู่เรือน ของเศรษฐีชื่อว่า จูฬอนาถบิณฑิกะ ตลอดกาลเป็นนิตย์, อ.เหมือนอย่างนั้น คือว่า อ.ภิกษุ ท. มีร้อยห้าเป็นประมาณ ย่อมไป สู่เรือน ของมหาอุบาสิกา ชื่อว่าวิสาขา ตลอดกาลเป็นนิตย์, อ.เหมือนอย่างนั้น คือว่า อ.ภิกษุ ท. มีร้อยห้า เป็นประมาณ ย่อมไปสู่เรือน ของอุบาสิกา ชื่อว่าสุปปวาสา ตลอดกาลเป็นนิตย์ ดังนี้ อันราชบุรุษ กราบทูลแล้ว เป็นผู้ใคร่เพื่ออันบำรุง ซึ่งหมู่แห่งภิกษุ แม้เอง เป็น เสด็จไปแล้ว สู่วิหาร ทรงนิมนต์แล้ว ซึ่งพระศาสดา กับ ด้วยพันแห่งภิกษุ ทรงถวายแล้ว ซึ่งทาน ด้วยพระหัตถ์ ของพระองค์ ตลอดวันเจ็ด ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดา ในวัน ที่เจ็ด กราบทูลแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ (อ.พระองค์ ท.) ขอจงทรงรับ ซึ่งภิกษา ของหม่อมฉัน กับ ด้วยร้อยแห่งภิกษุ ท. ห้า เนืองนิตย์ ดังนี้ ฯ12  1อเถกทิวสํ 2ราชา 3อุปริปาสาเท 4ิโต 5อนฺตรวีถึ 6โอโลกยมาโน 7“อนาถปิณฺฑิกสฺส 8จูฬอนาถปิณฺฑิกสฺส 9วิสาขาย 10สุปฺปวาสายาติ 11เอเตสํ 12เคเห 13ภตฺตกิจฺจตฺถาย 14คจฺฉนฺเต 15อเนกสหสฺเส 16ภิกฺขู 17ทิสฺวา 18“กหํ 19อยฺยา 20คจฺฉนฺตีติ 21ปุจฺฉิตฺวา, 22“เทว 23อนาถปิณฺฑิกสฺส 24เคเห 25นิจฺจภตฺตสลากภตฺตคิลานภตฺตาทีนํ 26อตฺถาย 27เทวสิกํ 28เทฺว 29ภิกฺขุสหสฺสานิ 30คจฺฉนฺติ, 31จูฬอนาถปิณฺฑิกสฺส 32เคหํ 33ปญฺจสตา 34ภิกฺขู 35นิจฺจํ 36คจฺฉนฺติ, 37ตถา 38วิสาขาย, 39ตถา 40สุปฺปวาสายาติ 41วุตฺเต, 42สยํปิ 43ภิกฺขุสงฺฆํ 44อุปฏฺหิตุกาโม 45วิหารํ 46คนฺตฺวา 47ภิกฺขุสหสฺเสน 48สทฺธึ 49สตฺถารํ 50นิมนฺเตตฺวา 51สตฺตาหํ 52สหตฺถา 53ทานํ 54ทตฺวา 55สตฺตเม 56ทิวเส 57สตฺถารํ 58วนฺทิตฺวา 59“ภนฺเต 60ปญฺจหิ 61เม 62ภิกฺขุสเตหิ 63สทฺธึ 64นิพทฺธํ 65ภิกฺขํ 66คณฺหถาติ 67อาห.
    (อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว) ว่า ดูก่อนมหาบพิตร ชื่อ อ.พระพุทธเจ้า ท. ย่อมไม่ทรงรับ ซึ่งภิกษาในที่แห่งเดียว เนืองนิตย์, (อ.ชน ท.) มาก ย่อมหวังเฉพาะ ซึ่งการเสด็จมา แห่งพระพุทธเจ้า ท. ดังนี้ ฯ13  1“มหาราช 2พุทฺธา 3นาม 4เอกฏฺาเน 5นิพทฺธํ 6ภิกฺขํ 7 8คณฺหนฺติ, 9พหู 10พุทฺธานํ 11อาคมนํ 12ปจฺจาสึสนฺตีติ.
    (อ.พระราชา กราบทูลแล้ว) ว่า ถ้าอย่างนั้น อ.พระองค์ ท. ขอจงทรงส่งไป ซึ่งภิกษุรูปหนึ่ง เนืองนิตย์ ดังนี้ ฯ14  1“เตนหิ 2เอกํ 3ภิกฺขุํ 4นิพทฺธํ 5เปเสถาติ.
    อ.พระศาสดา ได้ทรงกระทำแล้ว ให้เป็นภาระ ของพระเถระ ชื่อว่าอานนท์ ฯ15  1สตฺถา 2อานนฺทตฺเถรสฺส 3ภารมกาสิ.
    อ.พระราชา ไม่ทรงจัดการแล้ว ว่า ครั้นเมื่อหมู่แห่งภิกษุ มาแล้ว, (อ.ชน ท.) ชื่อเหล่านี้รับแล้ว ซึ่งบาตร จงอังคาส ดังนี้ ทรงอังคาสแล้ว เองนั่นเทียว ตลอดวันเจ็ด ทรงลืมแล้ว ได้ทรง กระทำแล้ว ซึ่งความเนิ่นช้า ในวัน ที่แปด ฯ16  1ราชา 2“ภิกฺขุสงฺเฆ 3อาคเต, 4ปตฺตํ 5คเหตฺวา 6อิเม 7นาม 8ปริวิสนฺตูติ 9อวิจาเรตฺวา 10สตฺตาหํ 11สยเมว 12ปริวิสิตฺวา 13อฏฺเม 14ทิวเส 15วิกฺขิตฺโต 16ปปญฺจํ 17อกาสิ.
    ก็ (อ.ชน ท.) ผู้ (อันพระราชา) ไม่ทรงบังคับแล้วชื่อในราช ตระกูล ย่อมไม่ได้ เพื่ออันปูลาด ซึ่งอาสนะ ท. แล้วยังภิกษุ ท. ให้นั่งแล้วอังคาส ฯ17  1ราชกุเล 2 3นาม 4อนาณตฺตา 5อาสนานิ 6ปญฺญาเปตฺวา 7ภิกฺขู 8นิสีทาเปตฺวา 9ปริวิสิตุํ 10 11ลภนฺติ.
    อ.ภิกษุ ท. (กล่าวแล้ว) ว่า อ.เรา ท. จักไม่อาจ เพื่ออันดำรงอยู่ ในที่นี้ ดังนี้ ผู้มาก หลีกไปแล้ว ฯ18  1ภิกฺขู 2“น 3มยํ 4อิธ 5าตุํ 6สกฺขิสฺสามาติ 7พหู 8ปกฺกมึสุ.
    อ.พระราชา ทรงลืมแล้ว แม้ในวันที่สอง ฯ19  1ราชา 2ทุติยทิวเสปิ 3ปมชฺชิ.
    อ.ภิกษุ ท. มาก หลีกไปแล้ว แม้ในวันที่สอง ฯ20  1ทุติยทิวเสปิ 2พหู 3ปกฺกมึสุ.
    (อ.พระราชา) ทรงลืมแล้ว แม้ในวันที่สามฯ21  1ตติยทิวเสปิ 2ปมชฺชิ.
    ในกาลนั้น (อ.ภิกษุ ท.) ผู้เหลือลง เว้น ซึ่งพระเถระชื่อว่า อานนท์ ผู้ผู้เดียวนั่นเทียว หลีกไปแล้ว ฯ22  1ตทา 2อานนฺทตฺเถรํ 3เอกกเมว 4เปตฺวา 5อวเสสา 6ปกฺกมึสุ.
    ื่อ (อ.ชน ท.) ผู้มีบุญ เป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งเหตุ ย่อมเป็น ย่อมรักษา ซึ่งความเลื่อมใส แห่งตระกูล ท. ฯ23  1ปุญฺญวนฺตา 2นาม 3การณวสิกา 4โหนฺติ 5กุลานํ 6ปสาทํ 7รกฺขนฺติ.
    ก็ อ.สาวก ท. ของพระตถาคตเจ้า แม้ทั้งปวง ผู้ถึงแล้ว ซึ่งฐานันดรกระทำ ซึ่งชน ท. แปด เหล่านี้ คือ อ.อัครสาวก ท. สอง คือ อ.พระเถระชื่อว่าสารีบุตร อ.พระเถระชื่อว่ามหาโมคคัลลานะ, อ.อัครสาวิกา ท. สอง คือ อ.นางเขมา อ.นางอุบลวรรณา, ในอุบาสก ท. หนา (อ.อุบาสก ท.) สองผู้เป็นอัครสาวก คือ อ.คฤหบดี ชื่อว่าจิตตะ อ.อุบาสกชื่อว่าหัตถกะผู้อยู่ในเมืองอาฬวี, ในอุบาสิกา ท. หนา (อ.อุบาสิกา ท.( สอง ผู้เป็นอัครสาวิกา คือ อ.มารดาของนันทมาณพ ชื่อว่าเวฬุกัณฏกี อ.นางขุชชุตรา; ให้เป็นต้น เป็นผู้มีบุญมาก เป็นผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอภินิหาร (ย่อมเป็น) เพราะความที่ แห่งบารมี ท. สิบ เป็นบารมีอันตนให้เต็ม แล้วโดยเอกเทศ ฯ24  1ตถาคตสฺส 2 3“สารีปุตฺตตฺเถโร 4มหาโมคฺคลฺลา- 5นตฺเถโรติ 6เทฺว 7อคฺคสาวกา, 8“เขมา 9อุปฺปลวณฺณาติ 10เทฺว 11อคฺคสาวิกา, 12อุปาสเกสุ 13“จิตฺโต 14คหปติ 15หตฺถโก 16อาฬวโกติ 17เทฺว 18อคฺคสาวกา, 19อุปาสิกาสุ 20“เวฬุกณฺฏกี 21นนฺทมาตา 22ขุชฺชุตฺตราติ 23เทฺว 24อคฺคสาวิกา; 25อิติ 26อิเม 27อฏฺ 28ชเน 29อาทึ 30กตฺวา 31านนฺตรปฺปตฺตา 32สพฺเพปิ 33สาวกา 34เอกเทเสน 35ทสนฺนํ 36ปารมีนํ 37ปูริตตฺตา 38มหาปุญฺญา 39อภินีหารสมฺปนฺนา.
    แม้ อ.พระเถระชื่อว่าอานนท์ ผู้ มีบารมีอันให้ เต็มแล้ว ตลอดแสนแห่งกัปป์ ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอภินิหาร ผู้มีบุญมาก เมื่อรักษา ซึ่งความเลื่อมใส แห่งตระกูล ได้ตั้งอยู่แล้ว เพราะความ ที่แห่งตนเป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งเหตุ ฯ25  1อานนฺทตฺเถโรปิ 2กปฺปสตสหสฺสปูริตปารมี 3อภินีหารสมฺปนฺโน 4มหาปุญฺโญ 5อตฺตโน 6การณ- 7วสิกตาย 8กุลสฺส 9ปสาทํ 10รกฺขนฺโต 11อฏฺาสิ.
    (อ.ราชบุรุษ ท.) ยังพระเถระนั้น ผู้ผู้เดียวนั่นเทียวให้นั่งแล้ว อังคาสแล้ว ฯ26  1ตํ 2เอกกเมว 3นิสีทาเปตฺวา 4ปริวิสึสุ.
    อ.พระราชา เสด็จมาแล้ว ในกาลแห่งภิกษุ ท. ไปแล้ว ทอดพระเนตรแล้วซึ่งของอันบุคคลพึงเคี ้ยวและของอันบุคคล- พึงบริโภค ท. อันตั้งอยู่แล้ว อย่างนั้นนั่นเทียว ตรัสถามแล้ว ว่า อ.พระผู้เป็นเจ้า ท. ไม่มาแล้ว หรือ? ดังนี้ ทรงสดับแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อ.พระเถระชื่อว่าอานนท์ ผู้ผู้เดียวเทียว มาแล้ว ดังนี้ กริ ้วแล้ว ต่อภิกษุ ท. ว่า (อ.พระผู้เป็นเจ้า ท.) ได้กระทำแล้ว ซึ่งการตัดขาด ต่อเรา มีประมาณเท่านี้ แน่แท้ ดังนี้ เสด็จไปแล้ว สู่สำนัก ของพระศาสดา กราบทูลแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.ภิกษา อันหม่อมฉัน ตระเตรียมแล้ว เพื่อร้ อยแห่งภิกษุ ท. ห้า, ได้ยินว่า อ.พระเถระชื่อว่าอานนท์ ผู้ผู้เดียวเทียว มาแล้ว, อ.ภิกษาอันหม่อมฉันตระเตรียมแล้ว ตั้งอยู่แล้ว อย่างนั้นนั่นเทียว อ.ภิกษุ ท. มีร้ อยห้าเป็นประมาณ ไม่กระทำแล้ว ซึ่งความสำคัญ ในเรือน ของหม่อมฉัน, อ.เหตุ อะไร หนอแล ดังนี้ ฯ27  1ราชา 2ภิกฺขูนํ 3คตกาเล 4อาคนฺตฺวา 5ขาทนีย- 6โภชนียานิ 7ตเถว 8ิตานิ 9ทิสฺวา 10“กึ 11อยฺยา 12นาคมึสูติ 13ปุจฺฉิตฺวา 14“อานนฺทตฺเถโร 15เอกโกว 16อาคโต 17เทวาติ 18สุตฺวา 19“อทฺธา 20เอตฺตกมฺเม 21เฉทนมกํสูติ 22ภิกฺขูนํ 23กุทฺโธ 24สตฺถุ 25สนฺติกํ 26คนฺตฺวา 27“ภนฺเต 28มยา 29ปญฺจนฺนํ 30ภิกฺขุสตานํ 31ภิกฺขา 32ปฏิยตฺตา, 33อานนฺทตฺเถโร 34กิร 35เอกโกว 36อาคโต, 37ปฏิยตฺตภิกฺขา 38ตเถว 39ิตา, 40ปญฺจสตา 41ภิกฺขู 42มม 43เคเห 44สญฺญํ 45 46กรึสุ; 47กินฺนุ 48โข 49การณนฺติ 50อาห.
    อ.พระศาสดา ไม่ตรัสแล้ว ซึ่งโทษ ของภิกษุ ท. ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนมหาบพิตร อ.ความคุ้นเคย กับ ด้วยพระองค์ ท. แห่งสาวก ท. ของอาตมภาพ ย่อมไม่มี, เพราะเหตุนั้น (อ.สาวก ท. ของอาตมภาพ) เป็นผู้ไม่ไปแล้ว จักเป็น ดังนี้ เมื่อทรงประกาศ ซึ่งเหตุแห่งการ ไม่เข้าไป สู่ตระกูล ท. ด้วย ซึ่งเหตุแห่งการเข้าไป (สู่ตระกูล ท.) ด้วย ตรัสเรียกมาแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. ตรัสแล้ว ซึ่งพระสูตร นี้ ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ.ตระกูล อันมาตามพร้อมแล้ว ด้วยองค์ ท. ๙ (อันภิกษุ) ไม่เข้าไปแล้ว ไม่ควร เพื่ออันเข้าไปด้วย ครั้นเข้าไปแล้ว ไม่ควร เพื่ออันนั่งใกล้ด้วย ฯ28  1สตฺถา 2ภิกฺขูนํ 3โทสํ 4อวตฺวา 5“มหาราช 6มม 7สาวกานํ 8ตุมฺเหหิ 9สทฺธึ 10วิสฺสาโส 11นตฺถิ, 12เตน 13 14คตา 15ภวิสฺสนฺตีติ 16วตฺวา 17กุลานํ 18อนุปคมนการณญฺจ 19อุปคมนการณญฺจ 20ปกาเสนฺโต 21ภิกฺขู 22อามนฺเตตฺวา 23อิมํ 24สุตฺตมาห 25“นวหิ 26ภิกฺขเว 27องฺเคหิ 28สมนฺนาคตํ 29กุลํ 30อนุปคนฺตฺวา 31 32นาลํ 33อุปคนฺตุํ 34อุปคนฺตฺวา 35 36นาลํ 37อุปนิสีทิตุํ.
    (อ.ตระกูล อันมาตามพร้อมแล้ว ด้วยองค์ ท.) เก้า เหล่าไหน? (อันภิกษุ ไม่เข้าไปแล้ว ไม่ควร เพื่ออันเข้าไปด้วย ครั้นเข้าไปแล้ว ไม่ควร เพื่ออันนั่งใกล้ด้วย (อ.ชน ท.) ย่อมไม่ต้อนรับ ด้วยอาการ อันยังใจให้เอิบอาบ, ย่อมไม่กราบไหว้ ด้วยอาการอันยังใจให้เอิบอาบ, ย่อมไม่ถวาย ซึ่งอาสนะ ด้วยอาการอันยังใจให้เอิบอาบ, ย่อมซ่อน ซึ่งของอันมีอยู่ ต่อภิกษุนั้น, ครั้นเมื่อของมาก (มีอยู่) ย่อมถวาย ซึ่งของหน่อยหนึ่ง, ครั้นเมื่อของประณีต (มีอยู่) ย่อมถวาย ซึ่งของ เศร้าหมอง, ย่อมถวาย โดยไม่เคารพ ย่อมไม่ถวาย โดยเคารพ, ย่อมไม่นั่งใกล้ เพื่ออันฟังซึ่งธรรม, (เมื่อภิกษุ) กล่าวอยู่ (ซึ่งธรรม) ย่อมไม่ยินดี ฯ29  1กตเมหิ 2นวหิ? 3 4มนาเปน 5ปจฺจุฏฺเนฺติ, 6 7มนาเปน 8อภิวาเทนฺติ, 9 10มนาเปน 11อาสนํ 12เทนฺติ, 13สนฺตมสฺส 14ปริคุยฺหนฺติ, 15พหุกมฺหิ 16โถกํ 17เทนฺติ, 18ปณีตมฺหิ 19ลูขํ 20เทนฺติ, 21อสกฺกจฺจํ 22เทนฺติ 23โน 24สกฺกจฺจํ, 25 26อุปนิสีทนฺติ 27ธมฺมสฺสวนาย, 28ภาสนฺตสฺส 29 30รญฺชิยนฺติ.
    ดูก่อนภิกษุ ท. อ.ตระกูล อันมาตามพร้อมแล้ว ด้วยองค์ ท,๙ เหล่านี้ แล (อันภิกษุ) ไม่เข้าไปแล้ว ไม่ควร เพื่ออันเข้าไปด้วย ครั้น เข้าไปแล้ว ไม่ควร เพื่ออันนั่งใกล้ด้วย ฯ30  1อิิเมหิ 2โข 3ภิกฺขเว 4นวหิ 5องฺเคหิ 6สมนฺนาคตํ 7กุลํ 8อนุปคนฺตฺวา 9 10นาลํ 11อุปคนฺตุํ 12อุปคนฺตฺวา 13 14นาลํ 15อุปนิสีทิตุํ.
    ดูก่อนภิกษุ ท. อ.ตระกูล อันมาตามพร้อมแล้ว ด้วยองค์ ท. ๙ (อันภิกษุ) ไม่เข้าไปแล้ว ควร เพื่ออันเข้าไปด้วย ครั้นเข้าไปแล้ว ควร เพื่ออันนั่งใกล้ด้วย ฯ31  1นวหิ 2ภิกฺขเว 3องฺเคหิ 4สมนฺนาคตํ 5กุลํ 6อนุปคนฺตฺวา 7 8อลํ 9อุปคนฺตุํ 10อุปคนฺตฺวา 11 12อลํ 13อุปนิสีทิตุํ.
    (อ.ตระกูลอันมาตามพร้อมแล้วด้วยองค์ ท.) เก้า เหล่าไหน? (อันภิกษุ ไม่เข้าไปแล้ว ควร เพื่ออันเข้าไปด้วย ครั้นเข้าไปแล้ว ควร เพื่ออันนั่งใกล้ด้วย) (อ.ชน ท.) ย่อมต้อนรับ ด้วยอาการอันยังใจ ให้เอิบอาบ, ย่อมไม่ซ่อนซึ่งของอันมีอยู่ ต่อภิกษุนั้น, ครั้นเมื่อของ มาก (มีอยู่) ย่อมถวาย ซึ่งของมาก, ครั้นเมื่อของประณีต (มีอยู่) ย่อมถวาย ซึ่งของประณีต, ย่อมถวาย โดยเคารพ ย่อมไม่ถวาย โดยเคารพ ย่อมไม่ถวาย โดยไม่เคารพ, ย่อมนั่งใกล้เพื่ออันฟัง ซึ่งธรรม, (เมื่อภิกษุ) กล่าวอยู่ (ซึ่งธรรม) ย่อมยินดี ฯ 32  1กตเมหิ 2นวหิ? 3มนาเปน 4ปจฺจุฏฺเนฺติ, 5มนาเปน 6อภิวาเทนฺติ, 7มนาเปน 8อาสนํ 9เทนฺติ, 10สนฺตมสฺส 11 12ปริคุยฺหนฺติ, 13พหุกมฺหิ 14พหุกํ 15เทนฺติ, 16ปณีตมฺหิ 17ปณีตํ 18เทนฺติ, 19สกฺกจฺจํ 20เทนฺติ 21โน 22อสกฺกจฺจํ, 23อุปนิสีทนฺติ 24ธมฺมสฺสวนาย, 25ภาสนฺตสฺส 26รญฺชิยนฺติ.
    ดูก่อนภิกษุ ท. อ.ตระกูลอันมาตามพร้อมแล้ว ด้วยองค์ ท. เก้า เหล่านี้ แล (อันภิกษุ) ไม่เข้าไปแล้ว ควร เพื่ออันเข้าไปด้วยครั้นเข้าไปแล้ว ควร เพื่ออันนั่งใกล้ด้วย ดังนี้ ฯ33  1อิเมหิ 2โข 3ภิกฺขเว 4นวหิ 5องฺเคหิ 6สมนฺนาคตํ 7กุลํ 8อนุปคนฺตฺวา 9 10อลํ 11อุปคนฺตุํ 12อุปคนฺตฺวา 13 14อลํ 15อุปนิสีทิตุนฺติ.
    (อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว) ว่า ดูก่อนมหาบพิตร อ.สาวก ท. ของอาตมภาพ ไม่ได้อยู่ ซึ่งความคุ้นเคย จากสำนัก ของพระองค์ ท. เป็นผู้ไม่ไปแล้ว จักเป็น ด้วยประการฉะนี้แล: จริงอยู่ อ.บัณฑิต ผู้มีในก่อน ท. แม้ผู้ (อันพระราชา) ทรงบำรุงอยู่ โดยเคารพ ในที่มิใช่ เป็นที่ตั้งแห่งความคุ้นเคย ถึงแล้ว ซึ่งเวทนา มีความตายเป็นที่สุด ไปแล้ว สู่ที่มีความคุ้นเคยนั่นเทียว ดังนี้ ผู้อันพระราชาทูลถามแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ (อ.บัณฑิตผู้มีในก่อน ท. ไปแล้ว สู่ที่มีความคุ้นเคยนั่นเทียว) ในกาลไร ดังนี้ ทรงนำมาแล้ว ซึ่งเรื่อง อันล่วงไปแล้ว ว่า : ในกาลอันล่วงไปแล้ว ครั้นเมื่อพระเจ้าพรหมทัต ทรงยังบุคคล ให้กระทำอยู่ ซึ่งความเป็นแห่งพระราชา ในเมืองชื่อว่า พาราณสี, อ.พระราชา พระนามว่าเกสวะ ทรงละแล้ว ซึ่งความ เป็นแห่งพระราชา ผนวชแล้ว ผนวชโดยความเป็นฤาษี ฯ34  1“อิติ 2โข 3มหาราช 4มม 5สาวกา 6ตุมฺหากํ 7สนฺติกา 8วิสฺสาสํ 9อลภนฺตา 10 11คตา 12ภวิสฺสนฺติ: 13โปราณกปณฺฑิตา 14หิ 15อวิสฺสาสนียฏฺาเน 16สกฺกจฺจํ 17อุปฏฺิยมานาปิ 18มรณนฺติกํ 19เวทนํ 20ปตฺวา 21วิสฺสาสิกฏฺานเมว 22คมึสูติ, 23“กทา 24ภนฺเตติ 25รญฺญา 26ปุฏฺโ 27อตีตํ 28อาหริ: 29“อตีเต 30พาราณสิยํ 31พฺรหฺมทตฺเต 32รชฺชํ 33กาเรนฺเต, 34เกสโว 35นาม 36ราชา 37รชฺชํ 38ปหาย 39อิสิปพฺพชฺชํ 40ปพฺพชิ.
    อ.ร้อยแห่งบุรุษ ท. ห้า บวชตามแล้ว ซึ่งพระราชานั้น ฯ35  1ตํ 2ปญฺจ 3ปุริสสตานิ 4อนุปพฺพชึสุ.
    อ.พระราชานั้น เป็นผู้ชื่อว่าเกสวดาบส ได้เป็นแล้ว ฯ36  1โส 2เกสวตาปโส 3นาม 4อโหสิ.
    อนึ่ง อ.นายภูษามาลาผู้ประดับของพระราชานั้น บวชตามแล้ว เป็นอันเตวาสิก ชื่อว่ากัปปกะ ได้เป็นแล้ว ฯ37  1ปสาธนกปฺปโก 2ปนสฺส 3อนุปพฺพชิตฺวา 4กปฺปโก 5นาม 6อนฺเตวาสิโก 7อโหสิ.
    อนึ่ง อ.นายภูษามาลาผู้ประดับของพระราชานั้น บวชตามแล้ว เป็นอันเตวาสิก ชื่อว่ากัปปกะ ได้เป็นแล้ว ฯ37  1ปสาธนกปฺปโก 2ปนสฺส 3อนุปพฺพชิตฺวา 4กปฺปโก 5นาม 6อนฺเตวาสิโก 7อโหสิ.
    อ.ดาบสชื่อว่าเกสวะอยู่แล้ว ในป่าหิมพานต์ สิ้นเดือน ท. ๘ กับ ด้วยบริษัท ถึงแล้ว ซึ่งเมืองชื่อว่าพาราณสี เพื่อต้องการแก่การ เสพซึ่งรสเค็มและรสเปรี ้ยว ในสมัยแห่งภาคพื้นอันฝนย้อมทั่วแล้ว ได้เข้าไปแล้ว สู่พระนครเพื่อภิกษา ฯ38  1เกสวตาปโส 2ปริสาย 3สทฺธึ 4อฏฺ 5มาเส 6หิมวนฺเต 7วสิตฺวา 8วสฺสารตฺเต 9โลณมฺพิลเสวนตฺถาย 10พาราณสึ 11ปตฺวา 12ภิกฺขาย 13นครํ 14ปาวิสิ.
    ครั้งนั้น อ.พระราชา ทรงเห็นแล้ว ซึ่งพระดาบส นั้น ทรงเลื่อมใสแล้ว ทรงรับแล้วซึ่งปฏิญญา เพื่อประโยชน์แก่การอยู่ ในสำนัก ของพระองค์ ตลอดประชุมแห่งเดือน ๔ (ทรงยังพระ ดาบสนั้น) ให้อยู่อยู่ ในอุทยาน ย่อมเสด็จไป สู่ที่เป็นที่บำรุง ซึ่งพระ ดาบสนั้น ในเวลาเย็นในเวลาเช้า ฯ39  1อถ 2นํ 3ราชา 4ทิสฺวา 5ปสีทิตฺวา 6จาตุมฺมาสํ 7อตฺตโน 8สนฺติเก 9วสนตฺถาย 10ปฏิญฺญํ 11คเหตฺวา 12อุยฺยาเน 13วสาเปนฺโต 14สายํ 15ปาตํ 16ตสฺส 17อุปฏฺานํ 18คจฺฉติ.
    อ.ดาบส ท. ผู้เหลือลง อยู่แล้ว สิ้นวันเล็กน้อย ผู้อันเสียง ท. มีเสียงแห่งช้างเป็นต้นเบียดเบียนแล้ว กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่อาจารย์ (อ.กระผม ท.) เป็นผู้กระสันขึ้นแล้ว เป็นแล้ว, (อ.กระผม ท.) จะไป ดังนี้ ฯ40  1อวเสสา 2ตาปสา 3กติปาหํ 4วสิตฺวา 5หตฺถิสทฺทาทีหิ 6อุพฺพาฬฺหา 7“อาจริย 8อุกฺกณฺิตมฺหา, 9คจฺฉามาติ 10อาหํสุ.
    (อ.พระดาบส ถามแล้ว) ว่า แน่ะพ่อ ท. (อ.เธอ ท. จะไป) ในที่ไหนดังนี้ ฯ41  1“กหนฺตาตาติ.
    (อ.ดาบส ท. เหล่านั้น กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่อาจารย์ (อ.กระผม ท. จะไป) สู่ป่าหิมพานต์ ดังนี้ ฯ42  1“หิมวนฺตํ 2อาจริยาติ.
    (อ.พระดาบส กล่าวแล้ว) ว่า อ.พระราชา ทรงรับแล้ว ซึ่งปฏิญญา เพื่อประโยชน์แก่การอยู่ในที่นี้ ตลอดประชุมแห่งเดือน ๔ ในวันแห่งเรา ท. มาแล้วนั่นเทียว, แน่ะพ่อ ท. (อ, เธอ ท.) จักไป อย่างไร ดังนี้ ฯ43  1“ราชา 2อมฺหากํ 3อาคตทิวเสเยว 4จาตุมฺมาสํ 5อิธ 6วสนตฺถาย 7ปฏิญฺญํ 8คณฺหิ, 9กถํ 10คมิสฺสถ 11ตาตาติ.
    (อ.ดาบส ท. เหล่านั้น กล่าวแล้ว) ว่า อ.ปฏิญญา อันท่าน ท. ไม่บอกแล้ว แก่กระผม ท. เทียว ถวายแล้ว, อ.กระผม ท. ย่อมไม่อาจ เพื่ออันอยู่ ในที่นี้, (อ.กระผม ท.) จักอยู่ ในที่เป็นที่ฟังซึ่งความเป็น ไปทั่ว แห่งท่าน ท. ในที่ไม่ไกล จากที่นี้ ดังนี้ ไหว้แล้ว หลีกไปแล้ว ฯ44  1“ตุมฺเหหิ 2อมฺหากํ 3อนาจิกฺขิตฺวาว 4ปฏิญฺญา 5ทินฺนา, 6มยํ 7อิธ 8 9สกฺโกม 10วสิตุํ, 11อิโต 12อวิทูเร 13ตุมฺหากํ 14ปวตฺติสฺสวนฏฺาเน 15วสิสฺสามาติ 16วนฺทิตฺวา 17ปกฺกมึสุ.
    อ.พระราชา เสด็จมาแล้ว สู่ที่เป็นที่บำรุงตรัสถามแล้ว ว่า อ.พระผู้เป็นเจ้า ท. (ไปแล้ว) ในที่ไหน ดังนี้ ฯ45  1ราชา 2อุปฏฺานํ 3อาคโต 4“กุหึ 5อยฺยาติ 6ปุจฺฉิ.
    (อ.พระดาบส กราบทูลแล้ว) ว่า ดูก่อนมหาบพิตร (อ.ดาบส ท. เหล่านั้น) กล่าวแล้ว ว่า (อ.กระผม ท.) เป็นผู้กระสันขึ้นแล้วเป็นแล้ว ดังนี้ ไปแล้ว สู่ป่าหิมพานต์ ดังนี้ ฯ46  1“อุกฺกณฺิตมฺหาติ 2วตฺวา 3หิมวนฺตํ 4คตา 5มหาราชาติ.
    แม้ อ.ดาบสชื่อว่ากัปปกะ กระสันขึ้นแล้ว ต่อกาลไม่นาน นั่นเทียว แม้ผู้อันอาจารย์ห้ามอยู่บ่อย ๆ กล่าวแล้ว ว่า อ.กระผม ย่อมไม่อาจ ดังนี้ หลีกไปแล้ว ฯ47  1กปฺปโกปิ 2 3จิรสฺเสว 4อุกฺกณฺิตฺวา 5อาจริเยน 6ปุนปฺปุนํ 7วาริยมาโนปิ 8“น 9สกฺโกมีติ 10วตฺวา 11ปกฺกามิ.
    แต่ว่า (อ.ดาบสชื่อว่ากัปปกะนั้น) ไม่ไปแล้ว สู่สำนัก ของดาบส ท. เหล่านอกนี้ ฟังอยู่ ซึ่งความเป็นไปทั่ว แห่งอาจารย์ อยู่แล้ว ในที อันไม่ไกล ฯ48  1อิตเรสํ 2ปน 3สนฺติกํ 4อคนฺตฺวา 5อาจริยสฺส 6ปวตฺตึ 7สุณนฺโต 8อวิทูเร 9าเน 10วสิ.
    ในกาลอันเป็นส่วนอื่นอีก เมื่ออาจารย์ ตามระลึกถึงอยู่ ซึ่งอันตวาสิก ท. อ, โรคในท้อง เกิดขึ้นแล้ว ฯ49  1อปรภาเค 2อาจริยสฺส 3อนฺเตวาสิเก 4อนุสฺสรนฺตสฺส 5กุจฺฉิโรโค 6อุปฺปชฺชิ.
    อ.พระราชา ทรงยังหมอ ท. ให้เยียวยาอยู่ ฯ50  1ราชา 2เวชฺเชหิ 3ติกิจฺฉาเปติ.
    อ.โรค ย่อมไม่เข้าไปสงบวิเศษ ฯ อ.พระดาบส กราบทูลแล้ว ว่า ดูก่อนมหาบพิตร อ.พระองค์ ย่อมปรารถนา เพื่ออันยังโรคของ- อาตมภาพให้เข้าไปสงบวิเศษหรือ ดังนี้ ฯ51  1โรโค 2 3วูปสมฺมติ.
1ตาปโส 2อาห 3“มหาราช 4อิจฺฉสิ 5เม 6โรคํ 7วูปสมิตุนฺติ.
    (อ.พระราชา ตรัสแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ถ้าว่า อ.ข้าพเจ้า พึงอาจไซร้, (อ.ข้าพเจ้า) พึงกระทำ ซึ่งความสำราญ แก่ท่าน ท. ในกาลนี้นั่นเทียว ดังนี้ ฯ52  1“ภนฺเต 2สจาหํ 3สกฺกุเณยฺยํ, 4อิทาเนว 5โว 6ผาสุกํ 7กเรยฺยนฺติ.
    (อ.พระดาบส กราบทูลแล้ว) ว่า ดูก่อน มหาบพิตร ถ้าว่า (อ.พระองค์) ย่อมปรารถนา ซึ่งความสำราญ แก่อาตมภาพไซร้, (อ.พระองค์) ขอจงทรงส่งไป ซึ่งอาตมภาพ สู่สำนัก ของอันเตวาสิก ท. ดังนี้ ฯ53  1“มหาราช 2สเจ 3เม 4ผาสุกํ 5อิจฺฉสิ, 6มํ 7อนฺเตวาสิกานํ 8สนฺติกํ 9เปเสหีติ.
    อ.พระราชา (ตรัสแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ.ดีละ ดังนี้ ทรงยังพระดาบสนั้นให้นอนแล้ว บนเตียงน้อย ทรงส่งไปแล้ว ซึ่งอำมาตย์ ท. ๔ มีอำมาตย์ชื่อว่านารทะเป็นประมุข (ด้วยพระ ดำรัส) ว่า อ.ท่าน ท. ทราบแล้ว ซึ่งความเป็นไปทั่ว แห่งพระผู้เป็นเจ้า ของเรา พึงส่งไป ซึ่งข่าวสาส์น แก่เรา ดังนี้ ฯ54  1ราชา 2“สาธุ 3ภนฺเตติ 4ตํ 5มญฺจเก 6นิปชฺชาเปตฺวา 7นารทามจฺจปฺปมุเข 8จตฺตาโร 9อมจฺเจ 10“มม 11อยฺยสฺส 12ปวตฺตึ 13ญตฺวา 14มยฺหํ 15สาสนํ 16ปหิเณยฺยาถาติ 17อุยฺโยเชสิ.
    อ.อันตวาสิกชื่อว่ากัปปกะ ฟังแล้ว ซึ่งการมา แห่งอาจารย์ กระทำแล้ว ซึ่งการต้อนรับ, (ครั้นเมื่อคำ) ว่า (อ.ดาบส ท.) เหล่า นอกนี้ (ย่อมอยู่) ในที่ไหน ดังนี้ (อันพระดาบส) กล่าวแล้ว, กล่าว- แล้ว ว่า ได้ยินว่า (อ.ดาบส ท. เหล่านั้น) ย่อมอยู่ ในที่โน้น ดังนี้ ฯ55  1กปฺปกนฺเตวาสิโก 2อาจริยสฺสาคมนํ 3สุตฺวา 4ปจฺจุคฺคมนํ 5กตฺวา, 6“อิตเร 7กหนฺติ 8วุตฺเต, 9“อสุกฏฺาเน 10กิร 11วสนฺตีติ 12อาห.
    อ.ดาบส ท. แม้เหล่านั้น ฟังแล้ว ซึ่งความที่แห่งอาจารย์ เป็นผู้มาแล้ว ประชุมกันแล้ว ในที่นั้นนั่นเทียว ถวายแล้ว ซึ่งน้ำอันร้อน ได้ถวายแล้ว ซึ่งผลและผลอันเจริญ แก่อาจารย์ ฯ56  1เตปิ 2อาจริยสฺสาคตภาวํ 3สุตฺวา 4ตตฺเถว 5สโมสริตฺวา 6อาจริยสฺส 7อุณฺโหทกํ 8ทตฺวา 9ผลาผลํ 10อทํสุ.
    อ.โรค เข้าไปสงบวิเศษแล้ว ในขณะนั้นนั่นเที่ยว ฯ57  1ตํขณญฺเญว 2โรโค 3วูปสมิ.
    อ.พระดาบสนั้น เป็นผู้ มีวรรณะเพียงดังวรรณแห่งทอง ได้เป็นแล้ว โดยวันเล็กน้อยนั่นเทียว ฯ58  1โส 2กติปาเหเนว 3สุวณฺณวณฺโณ 4อโหสิ.
    ครั้งนั้น อ.อำมาตย์ชื่อว่านารทะ ถามแล้ว ซึ่งพระดาบสนั้นว่า ข้าแต่ท่านเกสี ผ ู้มีโชค (อ.ท่าน) ละแล้ว (ซึ่งพระราชา) ผ ู้เป็นจอมแห่งมนุษย์ ผู้ยังสมบัติอันบุคคลใคร่ทั้งปวง ให้สำเร็จ ยินดีอย ู ่ ในอาศรม ของดาบสชื่อว่ากัปปกะ อย่างไรหนอ ดังนี้ ฯ 59  1อถ 2นํ 3นารโท 4ปุจฺฉิ 5“มนุสฺสินฺทํ 6ชหิตฺวาน 7สพฺพกามสมิทฺธินํ 8กถนฺนุ 9ภควา 10เกสิ 11กปฺปสฺส 12รมสิ 13อสฺสเมติ.
     (อ.พระดาบสชื่อว่าเกสวะ กล่าวแล้ว) ว่า (อ.คำ ท.) อันไพเราะ อันบุคคลพึงยินดี (มีอยู่), อ.ต้นไม้ ท. อันเป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ มีอยู่, ดก่อนนารทะ ู(อ.คำ ท.) อันกัปปกะกล่าวดีแล้ว ยังเรา ย่อมให้ยินดีได้ ดังนี้ ฯ60  1“สาทูนิ 2รมณียานิ, 3สนฺติ 4รุกฺขา 5มโนรมา, 6สุภาสิตานิ 7กปฺปสฺส 8นารท 9รมยนฺติ 10มนฺติ.
    (อ.อำมาตย์ชื่อว่านารทะ ถามแล้ว) ว่า (อ.ท่านใด) บริโภคแล้ว ซึ่งข้าวสุก แห่งข้าวสาลี ท. อันเข้าไปเจือด้วยเนื้ออันสะอาด อ.ข้าวฟ่างและล กเดือย ท. อันหารสเค็มมิได้ (ยังท่าน) นั้น ู ย่อมให้ยินดีได้ อย่างไร ดังนี้ ฯ 61  1“สาลีนํ 2โอทนํ 3ภุตฺวา 4สุจิมํสูปเสจนํ 5กถํ 6สามากนิวารา 7อโลณา 8สาทยนฺติ 9ตนฺติ.
     (อ.พระดาบสชื่อว่าเกสวะ กล่าวแล้ว) ว่า (อ.บุคคล) ผู้คุ้นเคยกันแล้ว พึงบริโภค (ซึ่งโภชนะ) อันไม่อร่อยหรือ หรือว่าอันอร่อย อันน้อยหรือ หรือว่าอันมาก (ในนิเวศน์) ใด (อ.โภชนะ อย่างใดอย่างหนึ่ง อันบุคคลบริโภคแล้ว ในนิเวศน์นั้น เป็นของยังประโยชน์- ให้สำเร็จ ย่อมเป็น เพราะว่า) อ.รส ท. มีความคุ้นเคย- เป็นอย่างยิ่ง ดังนี้ (ดังนี้) ฯ62  1“อสาทุํ 2ยทิวา 3สาทุํ 4อปฺปํ 5วา 6ยทิวา 7พหุํ, 8วิสฺสฏฺโ 9ยตฺถ 10ภุญฺเชยฺย 11วิสฺสาสปรมา 12รสาติ.
    อ.พระศาสดา ครั้นทรงนำมาแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนานี้ เมื่อ- ทรงยังชาดกให้ตั้งลงพร้อม ตรัสแล้ว ว่า อ.พระราชา ในกาลนั้น เป็นโมคคัลลานะ ได้เป็นแล้ว (ในกาลนี้), อ.อำมาตย์ชื่อวานารทะ (ในกาลนั้น เป็นสารีบุตร ได้เป็นแล้ว ในกาลนี้), อ.อันตวาสิกชื่อว่า กัปปกะ (ในกาลนั้น) เป็นอานนท์ (ได้เป็นแล้ว ในกาลนี้), อ.ดาบส ชื่อว่าเกสวะ (ในกาลนั้น) เป็นเรานั่นเทียว (ได้เป็นแล้ว ในกาล นี้) ดังนี้ ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนมหาบพิตร อ.บัณฑิต ท. ในกาลก่อน ถึงแล้ว ซึ่งเวทนา มีความตายเป็นที่สุด ได้ไปแล้ว สู่ที่มีความคุ้นเคย อย่างนี้, อ.สาวก ท. ของอาตมภาพ เห็นจะจะไม่ได้ ซึ่งความคุ้นเคย ในสำนัก ของพระองค์ ท. ดังนี้ ฯ63  1สตฺถา 2อิมํ 3ธมฺมเทสนํ 4อาหริตฺวา 5ชาตกํ 6สโมธาเนนฺโต 7“ตทา 8ราชา 9โมคฺคลฺลาโน 10อโหสิ, 11นารโท 12สารีปุตฺโต, 13กปฺปกนฺเตวาสิโก 14อานนฺโท, 15เกสวตาปโส 16อหเมวาติ 17วตฺวา 18“เอวํ 19มหาราช 20ปุพฺเพ 21ปณฺฑิตา 22มรณนฺติกํ 23เวทนํ 24ปตฺวา 25วิสฺสาสิกฏฺานํ 26อคมํสุ, 27มม 28สาวกา 29ตุมฺหากํ 30สนฺติเก 31วิสฺสาสํ 32 33ลภนฺติ 34มญฺเญติ 35อาห.
    อ.พระราชา (ทรงดำริแล้ว) ว่า อ.อันอันเรากระทำซึ่งความ คุ้นเคย กับ ด้วยหมู่แห่งภิกษุ ย่อมควร, (อ.เรา) จักกระทำ อย่างไร หนอ แล ดังนี้, ทรงดำริแล้ว ว่า อ.อัน(อันเรา) กระทำ ซึ่งพระธิดา แห่งพระญาติ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในเรือน ย่อมควร, ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น มีอยู่ อ.ภิกษุหนุ่ม ท. ด้วย อ.สามเณร ท. ด้วย ผู้คุ้นเคยกันแล้ว จักมา สู่สำนัก ของเรา เนืองนิจ (ด้วยความ- คิด) ว่า อ.พระราชา เป็นพระญาติ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ย่อมเป็น) ดังนี้ ดังนี้ ทรงส่งไปแล้ว ซึ่งข่าวสาส์น สู่สำนัก ของเจ้า ศากยะ ท. (มีอันให้รู้) ว่า (อ.เจ้าศากยะ ท.) ขอจงประทาน ซึ่งพระ ธิดา องค์หนึ่ง แก่หม่อมฉัน ดังนี้ (เป็นเหตุ) ตรัสแล้ว ว่า อ.ท่าน ท. ถามแล้ว ว่า อ.พระธิดา ของเจ้าศากยะองค์ไหน ดังนี้ พึงมา ดังนี้ ทรงยังทูต ท. ให้รู้ทั่วแล้ว ฯ64  1ราชา 2“ภิกฺขุสงฺเฆน 3สทฺธึ 4มยา 5วิสฺสาสํ 6กาตุํ 7วฏฺฏติ, 8กถนฺนุโข 9กริสฺสามีติ, 10“สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส 11ญาติธีตรํ 12เคเห 13กาตุํ 14วฏฺฏติ, 15เอวํ 16สนฺเต, 17ทหรา 18 19สามเณรา 20 21`สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส 22ญาติ 23ราชาติ 24มม 25สนฺติกํ 26วิสฺสฏฺา 27นิพทฺธํ 28อาคมิสฺสนฺตีติ 29จินฺเตตฺวา 30“เอกํ 31เม 32ธีตรํ 33เทนฺตูติ 34สากฺยานํ 35สนฺติกํ 36สาสนํ 37เปเสสิ, 38“กตรสกฺกสฺส 39ธีตาติ 40ปุจฺฉิตฺวา 41อาคจฺเฉยฺยาถาติ 42วตฺวา 43ทูเต 44อาณาเปสิ.
    อ.ทูต ท. ไปแล้ว ทูลขอแล้ว ซึ่งเจ้าหญิง กะเจ้าศากยะ ท. ฯ65  1ทูตา 2คนฺตฺวา 3สากิเย 4ทาริกํ 5ยาจึสุ.
    อ.เจ้าศากยะ ท. เหล่านั้น ทรงประชุมกันแล้ว ทรงดำริกันแล้วว่า อ.พระราชา มีในฝักฝ่ายอื่น ; ถ้าว่า อ.เรา ท. จักไม่ถวายไซร้, (อ.พระราชา) ทรงยังเรา ท. จักให้ฉิบหาย ; ก็ (อ.พระราชา) เป็นเช่นกับด้วยเรา ท. โดยตระกูล (ย่อมเป็น) หามิได้แล ; (อ.กรรม) อะไรหนอแล (อันเรา ท.) พึงกระทำ ดังนี้ ฯ66  1สนฺนิปติตฺวา 2“ปกฺขนฺตริโย 3ราชา; 4สเจ 5 6ทสฺสาม, 7วินาเสสฺสติ 8โน; 9 10โข 11ปน 12อมฺเหหิ 13กุเลน 14สทิโส; 15กินฺนุ 16โข 17กาตพฺพนฺติ 18จินฺตยึสุ.
    อ.เจ้าศากยะ พระนามว่ามหานาม ตรัสแล้ว ว่า อ.ธิดา ชื่อว่า สาสภขัตติยา ผู้เกิดแล้ว ในท้อง ของนางทาสี ของเรา ผู้ถึงแล้วซึ่ง ส่วนแห่งความงามแห่งรูป มีอยู่, อ.เรา ท. จักถวาย ซึ่งธิดานั้น ดังนี้ ตรัสแล้ว กะทูต ท. ว่า อ.ดีละ อ.เรา ท. จักถวาย ซึ่งเจ้าหญิง แก่พระราชา ดังนี้ ฯ67  1มหานาโม 2“มม 3ทาสิยา 4กุจฺฉิสฺมึ 5ชาตา 6วาสภขตฺติยา 7นาม 8ธีตา 9รูปโสภคฺคปฺปตฺตา 10อตฺถิ, 11ตํ 12ทสฺสามาติ 13วตฺวา 14ทูเต 15อาห 16“สาธุ 17รญฺโญ 18ทาริกํ 19ทสฺสามาติ.
     (อ.เจ้าศากยะ ท. ตรัสแล้ว) ว่า อ.พระธิดา ของเจ้าศากยะพระนามว่ามหานาม ผู้เป็นโอรส ของพระเจ้าอา ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่าวาสภขัตติยา ดังนี้ ฯ68  1“กสฺส 2ธีตาติ.
1“สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส 2จูฬปิ 3ตุ 4ปุตฺตสฺส 5มหานามสกฺกสฺส 6ธีตา 7วาสภขตฺติยา 8นามาติ.
    อ. ทูต ท. เหล่านั ้น ไปแล้ว กราบทูลแล้ว แก่พระราชา ฯ69  1เต 2คนฺตฺวา 3รญฺโญ 4อาโรจยึสุ.
    อ.พระราชา (ตรัสแล้ว) ว่า ผิว่า ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น (มีอยู่) อ.ดีละ, อ.ท่าน ท. จงนำมา พลัน ; ก็ ชื่อ อ.กษัตริย์ ท. เป็นผู้มี มายามาก (เป็น)พึงส่งไป แม้ซึ่งธิดาของนางทาสี, อ.ท่าน ท.พึงนำมา (ซึ่งพระธิดา) ผู้เสวยอยู่ ในภาชนะเดียวกัน กับ ด้วยพระบิดา ดังนี้ฯ70  1ราชา 2“ยทิ 3เอวํ 4สาธุ, 5สีฆํ 6อาเนถ; 7ขตฺติยา 8 9นาม 10พหุมายา 11ทาสีธีตรํปิ 12ปหิเณยฺยุํ, 13ปิ 14ตรา 15สทฺธึ 16เอกภาชเน 17ภุญฺชนฺตึ 18อาเนยฺยาถาติ 19เปเสสิ.
    อ.ทูต ท. เหล่านั้น ไปแล้ว กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อ.พระราชา ย่อมทรงปรารถนา (ซึ่งพระธิดา) ผู้เสวยอยู่ โดยความ เป็นอันเดียวกัน กับ ด้วยพระองค์ ท. ดังนี้ ฯ71  1เต 2คนฺตฺวา 3“เทว 4ตุมฺเหหิ 5สทฺธึ 6เอกโต 7ภุญฺชนฺตึ 8ราชา 9อิจฺฉตีติ 10อาหํสุ.
    อ.เจ้าศากยะพระนามว่า มหานาม (ตรัสแล้ว)ว่าแน่ะพ่อ ท. อ.ดีละดังนี้ (ทรงยังบุคคล) ให้กระทำให้พอแล้ว ซึ่งพระธิดานั้น (ทรงยังบุคคล) ให้ร้องเรียกแล้ว ซึ่งพระธิดานั้น ในกาลเป็นที่เสวย แห่งพระองค์ ทรงแสดงแล้ว ซึ่งอาการคือการเสวย โดยความเป็นอันเดียวกัน กับ ด้วยพระธิดานั้น ทรงมอบให้แล้ว แก่ทูต ท. ฯ72  1มหานาโม 2“สาธุ 3ตาตาติ 4ตํ 5อลงฺการาเปตฺวา 6อตฺตโน 7ภุญฺชนกาเล 8ตํ 9ปกฺโกสาเปตฺวา 10ตาย 11สทฺธึ 12เอกโต 13ภุญฺชนาการํ 14ทสฺเสตฺวา 15ทูตานํ 16นิยฺยาเทสิ.
    อ.ทูต ท. เหล่านั้นพาเอาซึ่งพระธิดานั่น ไปแล้ว สู่เมืองชื่อ ว่าสาวัตถี กราบทูลแล้ว ซึ่งความเป็นไปทั่ว นั่น แก่พระราชา ฯ73  1เต 2ตํ 3อาทาย 4สาวตฺถึ 5คนฺตฺวา 6ตํ 7ปวตฺตึ 8รญฺโญ 9อาโรเจสุํ.
    อ.พระราชา ผู้มีพระทัยยินดีแล้ว ทรงกระทำแล้ว ซึ่งพระธิดานั่น ให้เป็นผู้เจริญที่สุด แห่งร้ อยแห่งหญิง ท. ๕ ทรงอภิเษกแล้ว ในตำแหน่งแห่งพระอัครมเหสี ฯ74  1ราชา 2ตุฏฺมานโส 3ตํ 4ปญฺจนฺนํ 5อิตฺถีสตานํ 6เชฏฺกํ 7กตฺวา 8อคฺคมเหสิฏฺาเน 9อภิสิญฺจิ.
    อ.พระนางวาสภขัตติยานั่น ประสูติแล้ว ซึ่งพระโอรส ผู้มีวรรณะพียงดังวรรณะแห่งทอง ต่อกาลไม่นานนั่นเทียว ฯ75  1สา 2 3จิรสฺเสว 4สุวณฺณวณฺณํ 5ปุตฺตํ 6วิชายิ.
    ครั้งนั้น ในวันเป็นที่ถือเอาซึ่งพระนาม ของพระโอรสนั้น อ.พระราชาทรงส่งไปแล้ว (ซึ่งข่าวสาส์น)สู่สำนัก ของพระอัยยิกา (มีอันให้รู้) ว่า อ.พระนางวาสภขัตติยาผู้เป็นพระธิดาของเจ้า ศากยะ ประสูติแล้ว ซึ่งพระโอรส (อ.เจ้าศากยะ ท.)ขอจงทรง กระทำซึ่งพระนาม ของพระโอรสนั้น อย่างไร ดังนี้ เป็นเหตุ) ฯ76  1อถสฺส 2นามคฺคหณทิวเส 3ราชา 4อยฺยิกาย 5สนฺติกํ 6เปเสสิ 7“สากฺยราชธีตา 8วาสภขตฺติยา 9ปุตฺตํ 10วิชาตา, 11กิมสฺส 12นามํ 13กโรนฺตูติ.
     ส่วนว่า อ.อำมาตย์ ผู้รับซึ่งข่าวสาส์นนั้นไปแล้ว เป็นผู้มีธาตุแห่งคนหนวก หน่อยหนึ่ง (ย่อมเป็น)ฯ77  1ตํ 2ปน 3สาสนํ 4คเหตฺวา 5คโต 6อมจฺโจ 7โถกํ 8พธิรธาตุโก.
    อ.อำมาตย์นั้น ไปแล้ว กราบทูลแล้ว แก่พระอัยยิกา ของพระราชา ฯ78  1โส 2คนฺตฺวา 3รญฺโญ 4อยฺยิกาย 5อาโรเจสิ.
     อ.พระอัยยิกานั้น ทรงสดับแล้ว ซึ่งความเป็นไปทั่ว นั้น ตรัสแล้ว่า อ.พระนางวาสภขัตติยา แม้ไม่ประสูติแล้ว ซึ่งพระโอรส ทรง ครอบงำแล้ว ซึ่งทรัพย์ ทั้งปวง, ก็ ในกาลนี้ (อ.พระนางวาสภ ขัตติยา) เป็นผู้คุ้นเคย เกินเปรียบ ของพระราชา จักเป็น ดังนี้ ฯ79  1สา 2ตํ 3ปวตฺตึ 4สุตฺวา 5“วาสภขตฺติยา 6ปุตฺตํ 7อวิชายิตฺวาปิ 8สพฺพํ 9ธนํ 10อภิภวิ, 11อิทานิ 12ปน 13รญฺโญ 14อติวิย 15วลฺลภา 16ภวิสฺสตีติ 17อาห.
    อ.อำมาตย์ผู้หนวก ฟังแล้ว ซึ่งคำ ว่า วัลลภา ดังนี้ ฟังแล้วชั่ว กำหนดแล้ว ว่า วิฑูฑภะ ดังนี้ เข้าไปเฝ้าแล้ว ซึ่งพระราชา กราบทูล แล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อ.พระองค์ ท. ขอจงทรงกระทำ (ซึ่งคำ) ว่า วิฑูฑภะ ดังนี้ ให้เป็นพระนาม ของพระกุมารเถิด ดังนี้ ฯ80  1พธิรามจฺโจ 2“วลฺลภาติ 3วจนํ 4ทุสฺสุตํ 5สุตฺวา 6“วิฑูฑโภติ 7สลฺลกฺเขตฺวา 8ราชานํ 9อุปคนฺตฺวา 10“เทว 11กุมารสฺส 12`วิฑูฑโภติ 13นามํ 14กโรถาติ 15อาห.
    อ.พระราชา ทรงดำริแล้ว ว่า (อ.คำนี้) เป็นชื่อ อันเป็นของมีอยู่ แห่งตระกูล ของเรา ท. อันมีในก่อน จักเป็น ดังนี้ ได้ทรงกระทำแล้ว (ซึ่งคำ) ว่า วิฑูฑภะ ดังนี้ ให้เป็นพระนาม (ของพระกุมารนั้น) ฯ81  1ราชา 2“โปราณกํ 3โน 4กุลสนฺตกํ 5นามํ 6ภวิสฺสตีติ 7จินฺเตตฺวา 8“วิฑูฑโภติ 9นามํ 10อกาสิ.
    ครั้งนั้น อ.พระราชา ได้พระราชทานแล้ว ซึ่งตำแหน่งแห่ง เสนาบดี แก่พระกุมารนั้น ในกาลแห่งพระกุมารนั้นทรงพระเยาว์ นั่นเทียว (ด้วยทรงดำริ) ว่า อ.เรา จะกระทำ ให้เป็นผู้เป็นที่รัก ของพระศาสดา ดังนี้ ฯ82  1อถสฺส 2ทหรกาเลเยว 3ราชา 4“สตฺถุ 5ปิ 6ยํ 7กโรมีติ 8เสนาปติฏฺานํ 9อทาสิ.
     อ.พระกุมารนั้น ทรงเติบโตอยู่ ด้วย วัตถุเป็นเครื่องบริหารแห่งกุมาร ทรงเห็นแล้ว (ซึ่งรูป ท.) มีรูป แห่งช้างและรูปแห่งม้าเป็นต้น อันบุคคลนำมาอยู่ จากตระกูลแห่ง ยาย เพื่อกุมาร ท. เหล่าอื่นในกาลแห่งพระองค์มีกาลฝนเจ็ด ตรัส ถามแล้ว ซึ่งพระมารดา ว่า ข้าแต่เสด็จแม่ อ.เครื่องบรรณาการ (อันบุคคล) นำมาอยู่ จากตระกูลแห่งยาย เพื่อกุมาร ท. เหล่าอื่น, อ.ใคร ๆ ย่อมไม่ส่งไป ซึ่งวัตถุอะไร ๆ แก่หม่อมฉัน; อ.พระองค์ เป็นผู้ไม่มีมารดาและบิดา (ย่อมเป็น) หรือ ดังนี้ ฯ83  1โส 2กุมารปริหาเรน 3วฑฺฒนฺโต 4สตฺตวสฺสิกกาเล 5อญฺเญสํ 6กุมารานํ 7มาตามหกุลโต 8หตฺถิรูปกอสฺสรูปกาทีนิ 9อาหริยมานานิ 10ทิสฺวา 11มาตรํ 12ปุจฺฉิ 13“อมฺม 14อญฺเญสํ 15มาตามหกุลโต 16ปณฺณากาโร 17อาหริยติ, 18มยฺหํ 19โกจิ 20กิญฺจิ 21 22เปเสติ; 23กึ 24ตฺวํ 25นิมฺมาตาปิ 26ติกาติ.
    ครั้งนั้น อ.พระนางวาสภขัตติยานั้น ทรงลวงแล้ว ซึ่งพระกุมาร นั้น ว่า แน่ะพ่อ อ.เจ้าศากยะ ท. เป็นยาย ของเจ้า (ย่อมเป็น), แต่ว่า (อ.เจ้าศากยะ ท. เหล่านั้น) ย่อมอยู่ ในที่ไกล, เพราะเหตุนั้น อ.เจ้าศากยะ ท. เหล่านั้น ย่อมไม่ส่งไป ซึ่งวัตถุอะไร ๆ แก่เจ้า ดังนี้ ฯ84  1อถ 2นํ 3สา 4“ตาต 5ตว 6สกฺยราชาโน 7มาตามหา, 8ทูเร 9ปน 10วสนฺติ, 11เตน 12เต 13 14กิญฺจิ 15เปเสนฺตีติ 16วญฺเจสิ.
     (อ.พระกุมาร) ทูลแล้ว ว่า ข้าแต่เสด็จแม่ อ.หม่อมฉัน เป็น ผู้ใคร่เพื่ออันเห็น ซึ่งตระกูลแห่งยาย ย่อมเป็น ดังนี้ ในกาลแห่ง พระองค์มีกาลฝนสิบหก อีก แม้ผู้อันพระมารดาทรงห้ามอยู่ ว่า แน่ะพ่อ อ.อย่าเลย, (อ.เจ้า) ไปแล้ว ในที่นั้น จักกระทำ อย่างไร ดังนี้ ทูลวิงวอนแล้ว บ่อย ๆ ฯ85  1ปุน 2โสฬสวสฺสิกกาเล 3“อมฺม 4มาตามหกุลํ 5ปสฺสิตุกาโมมฺหีติ 6วตฺวา 7“อลํ 8ตาต, 9กึ 10ตตฺถ 11คนฺตฺวา 12กริสฺสสีติ 13วาริยมาโนปิ 14ปุนปฺปุนํ 15ยาจิ.
     ครั้งนั้น อ.พระมารดา ของพระ กุมารนั้น ทรงรับพร้อมแล้ว ว่า ถ้าอย่างนั้น อ.เจ้า จงไปเถิด ดังนี้ ฯ86  1อถสฺส 2มาตา 3“เตนหิ 4คจฺฉาติ 5สมฺปฏิจฺฉิ.
    อ.พระกุมารนั้น กราบทูลแล้ว แก่พระบิดา เสด็จออกไปแล้ว ด้วยบริวาร หมู่ใหญ่ ฯ 87  1โส 2ปิ 3ตุ 4อาโรเจตฺวา 5มหนฺเตน 6ปริวาเรน 7นิกฺขมิ.
    อ.พระนางวาสภขัตติยา ทรงส่งไปแล้ว ซึ่งหนังสือ ก่อนกว่านั่นเทียว (มีอันให้รู้) ว่า อ.หม่อมฉัน ย่อมอยู่ ในที่นี้ สบาย, (อ.พระญาติ ท.) อย่าทรงแสดงแล้ว ซึ่งโทษ ของ พระสวามี อะไร ๆ แก่พระกุมารนั้น ดังนี้ (เป็นเหตุ) ฯ88  1วาสภขตฺติยา 2ปุเรตรเมว 3ปณฺณํ 4เปเสสิ 5“อหํ 6อิธ 7สุขํ 8วสามิ, 9มาสฺส 10กิญฺจิ 11สามิโน 12อนฺตรํ 13ทสฺสยึสูติ.
    อ.เจ้าศากยะ ท. ทรงทราบแล้ว ซึ่งการเสด็จมา แห่งพระกุมาร พระนามว่าวิฑูฑภะ (ทรงปรึกษากันแล้ว) ว่า (อันเรา ท.) ไม่อาจ เพื่ออันไหว้ ดังนี้ ทรงส่งไปแล้ว ซึ่งพระกุมาร ท. ผู้ทรงพระเยาว์ และทรงพระเยาว์ กว่าพระกุมารนั้น สู่ชนบท, ครั้นเมื่อพระกุมารนั้น เสด็จถึงพร้อมแล้ว ซึ่งเมืองชื่อว่ากบิลพัสดุ์, ทรงประชุมกันแล้ว ในท้องพระโรง ฯ89  1สากิยา 2วิฑูฑภสฺสาคมนํ 3ญตฺวา 4“วนฺทิตุํ 5 6สกฺกาติ 7ตสฺส 8ทหรทหเร 9กุมาเร 10ชนปทํ 11ปหิณิตฺวา, 12ตสฺมึ 13กปิ 14ลปุรํ 15สมฺปตฺเต, 16สณฺาคาเร 17สนฺนิปตึส.
     อ.พระกุมาร เสด็จไปแล้ว ได้ประทับยืนแล้ว ในท้องพระโรงนั้น ฯ 90  1กุมาโร 2ตตฺถ 3คนฺตฺวา 4อฏฺาสิ.
    ครั้งนั้น (อ.เจ้าศากยะ ท.) ตรัสแล้ว กะพระ กุมารนั้น ว่า แน่ะพ่อ อ.เจ้าศากยะนี้ เป็นพระเจ้าตา ของเจ้า (ย่อม เป็น),อ.เจ้าศากยะนี้ เป็นพระเจ้าลุง (ของเจ้า) (ย่อมเป็น) ดังนี้ ฯ91  1อถ 2นํ 3“อยนฺเต 4ตาต 5มาตามโห, 6อยํ 7มาตุโลติ 8วทึสุ.
    อ.พระกุมารนั้น เสด็จเที่ยวถวายบังคมอยู่แล้ว (ซึ่งเจ้าศากยะ ท.) ทั้งปวง ไม่ทรงเห็นแล้ว (ซึ่งเจ้าศากยะ) แม้พระองค์เดียว ผู้ทรง ไหว้อยู่ ซึ่งพระองค์ทูลถามแล้ว ว่า (อ.เจ้าสากยะ ท.) ผู้ไหว้อยู่ ซึ่งหม่อมฉัน ย่อมไม่มี หรือหนอแล ดังนี้ ฯ92  1โส 2สพฺเพ 3วนฺทมาโน 4วิจริตฺวา 5เอกํปิ 6อตฺตานํ 7วนฺทนฺตํ 8อทิสฺวา 9“กินฺนุ 10โข 11มํ 12วนฺทนฺตา 13นตฺถีติ 14ปุจฺฉิ.
    อ.เจ้าศากยะ ท. ตรัสแล้วว่า แน่ะพ่อ อ.กุมารผู้น้อยที่สุด ท. ของเจ้า ไปแล้ว สู่ชนบท ดังนี้ ทรงกระทำแล้ว ซึ่งสักการะอันใหญ่ แก่พระกุมารนั้น ฯ93  1สากิยา 2“ตาต 3กนิฏฺกุมารา 4เต 5ชนปทํ 6คตาติ 7วตฺวา 8ตสฺส 9มหนฺตํ 10สกฺการํ 11กรึสุ.
    อ.พระกุมารนั้น ประทับอยู่แล้ว สิ้นวันเล็กน้อย เสด็จออกแล้ว จากพระนคร ด้วยบริวาร หมู่ใหญ่ ฯ94  1โส 2กติปาหํ 3วสิตฺวา 4มหนฺเตน 5ปริวาเรน 6นครา 7นิกฺขมิ.
    ครั้งนั้น อ.นางทาสี คนหนึ่ง ด่าแล้ว ด่าแล้ว ว่า อ.แผ่นกระดานนี้ เป็นแผ่นกระดาน แห่งบุตร ของนางทาสี ชื่อว่า วาสภขัตติยา นั่งแล้ว (ย่อมเป็น) ดังนี้ ย่อมล้าง ซึ่งแผ่นกระดาน แห่งพระกุมารนั้น นั่งแล้ว ในท้องพระโรง ด้วยน้ำอันเจือด้วยน้ำนม ฯ95  1อเถกา 2ทาสี 3สณฺาคาเร 4ตสฺส 5นิสินฺนผลกํ 6“อิทํ 7วาสภขตฺติยาย 8ทาสิยา 9ปุตฺตสฺส 10นิสินฺนผลกนฺติ 11อกฺโกสิตฺวา 12อกฺโกสิตฺวา 13ขีโรทเกน 14โธวติ.
    อ.บุรุษ คนหนึ่ง ลืมทั่วแล้ว ซึ่งอาวุธ ของตน กลับแล้ว ถือเอา อยู่ ซึ่งอาวุธนั้น ฟังแล้วซึ่งเสียงแห่งการด่า ซึ่งพระกุมารพระนามว่า วิฑูฑภะ ถามแล้ว ซึ่งโทษ นั่น รู้แล้ว ว่า อ.พระนางวาสภขัตติยา เกิดแล้ว ในท้อง ของนางทาสี ของเจ้าศากยะพระนามว่ามหานาม ดังนี้ บอกแล้ว แก่หมู่แห่งพล ฯ96  1เอโก 2ปุริโส 3อตฺตโน 4อาวุธํ 5ปมฺมุสฺสิตฺวา 6นิวตฺโต 7ตํ 8คณฺหนฺโต 9วิฑูฑภกุมารสฺส 10อกฺโกสนสทฺทํ 11สุตฺวา 12ตํ 13อนฺตรํ 14ปุจฺฉิตฺวา 15“วาสภขตฺติยา 16ทาสิยา 17กุจฺฉิมฺหิ 18มหานามสกฺกสฺส 19ชาตาติ 20ญตฺวา 21พลกายสฺส 22กเถสิ.
    อ.ความโกลาหลใหญ่ ว่า ได้ยินว่า อ.พระนางวาสภขัตติยา เป็นธิดาของนางทาสี (ย่อมเป็น) ดังนี้ ได้มีแล้ว ฯ97  1“วาสภขตฺติยา 2กิร 3ทาสีธีตาติ 4มหาโกลาหลํ 5อโหสิ.
    อ.พระกุมารพระนามว่าวิฑูฑภะ ทรงสดับแล้ว ซึ่งคำนั้นทรง ตั้งไว้แล้วซึ่งพระทัย ว่า อ.เจ้าศากยะ ท. เหล่านั่น จงล้าง ซึ่งแผ่นกระดานแห่งเรานั่นแล้วด้วยน้ำอันเจือด้วยน้ำนม ก่อน, แต่ว่า อ.เรา ถือเอาแล้ว ซึ่งเลือดในลำคอ ของเจ้าศากยะ ท. เหล่านั่น จักล้าง ซึ่งแผ่นกระดานแห่งเรานั่งแล้ว ในกาลแห่งเราตั้งอยู่เฉพาะ แล้ว ในความเป็นแห่งพระราชา ดังนี้ ฯ98  1ตํ 2สุตฺวา 3วิฑูฑโภ 4“เอเต 5ตาว 6มม 7นิสินฺนผลกํ 8ขีโรทเกน 9โธวนฺตุ, 10อหํ 11ปน 12รชฺเช 13ปติฏฺิตกาเล 14เอเตสํ 15คลโลหิตํ 16คเหตฺวา 17มม 18นิสินฺนผลกํ 19โธวิสฺสามีติ 20จิตฺตํ 21เปสิ.
    ครั่นเมื่อพระกุมารนั้น เสด็จถึงแล้ว ซึ่งเมืองชื่อว่าสาวัตถี, อ.อำมาตย์ ท. กราบทูลแล้ว ซึ่งความเป็นไปทั่ว ทั้งปวง แก่พระ ราชา ฯ99  1ตสฺมึ 2สาวตฺถึ 3คเต, 4อมจฺจา 5สพฺพํ 6ปวตฺตึ 7รญฺโญ 8อาโรจยึสุ.
    อ.พระราชา กริ ้วแล้ว ต่อเจ้าศากยะ ท. ว่า (อ.เจ้าศากยะ ท. (ได้ให้แล้ว ซึ่งธิดาของนางทาสี แก่เรา ดังนี้ ทรงริบแล้ว ซึ่งวัตถุ เป็นเครื่องบริหารอันพระองค์พระราชทานแล้ว แก่พระนาง- วาสภขัตติยาด้วย แก่พระโอรสด้วย (ทรงยังบุคคล)ให้พระราชทานแล้ว (ซึ่งวัตถุ)สักว่าอันทาสและทาสี ท. พึงได้นั่นเทียว ฯ100  1ราชา 2“มยฺหํ 3ทาสีธีตรํ 4อทํสูติ 5สากิยานํ 6กุชฺฌิตฺวา 7วาสภขตฺติยาย 8 9ปุตฺตสฺส 10 11ทินฺนปริหารํ 12อจฺฉินฺทิตฺวา 13ทาสทาสีหิ 14ลทฺธพฺพมตฺตเมว 15ทาเปสิ.
    อ.พระศาสดา เสด็จไปแล้ว สู่พระราชนิเวศน์ ประทับนั่งแล้ว โดยอันล่วงไปแห่งวันเล็กน้อย แต่วันนั้น ฯ101  1ตโต 2กติปาหจฺจเยน 3สตฺถา 4ราชนิเวสนํ 5คนฺตฺวา 6นิสีทิ.
    อ.พระราชาเสด็จมาแล้ว ถวายบังคมแล้ว กราบทูลแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ได้ยินว่า อ.ธิดาของนางทาสีอันพระญาติ ท. ของพระองค์ ท. ประทานแล้ว แก่หม่อมฉัน, เพราะเหตุนั้น อ.หม่อมฉัน ริบแล้วซึ่งวัตถุเป็นเครื่องบริหาร (ของพระนางวาสภขัตติยา) นั้น ผู้เป็นไปกับด้วยบุตร (ยังบุคคล ให้ให้แล้ว (ซึ่งวัตถุ) สักว่าอันทาส และทาสี ท. พึงได้นั่นเทียว ดังนี้ ฯ102  1ราชา 2อาคนฺตฺวา 3วนฺทิตฺวา 4“ภนฺเต 5ตุมฺหากํ 6กิร 7ญาตเกหิ 8ทาสีธีตา 9มยฺหํ 10ทินฺนา, 11เตนสฺสา 12อหํ 13สปุตฺตาย 14ปริหารํ 15อจฺฉินฺทิตฺวา 16ทาสทาสีหิ 17ลทฺธพฺพมตฺตเมว 18ทาเปสินฺติ 19อาห.
    อ.พระศาสดา (ตรัสแล้ว) ว่า ดูก่อนมหาบพิตร (อ.กรรม) อันไม่สมควรแล้ว อันเจ้าศากยะ ท. ทรงกระทำแล้ว, (อ.พระธิดา) ผู้มีพระชาติเสมอกัน เป็นผู้ (อันเจ้าศากยะ ท.) ชื่อผู้เมื่อประทาน พึงประทาน พึงเป็น ; ก็ (อ.อาตมภาพ) จะขอทูล กะพระองค์ : ว่า อ.พระนางวาสภขัตติยา เป็นพระธิดาของพระราชผู้กษัตริย์ (เป็น) ทรงได้แล้ว ซึ่งการอภิเษก ในตำหนัก ของพระราชาผู้กษัตริย์ นั่นเทียว ประสูติแล้ว ; ชื่อ อ.โคตรของมารดาจักกระทำ ซึ่งอะไรได้, อ.โคตรของบิดานั่นเทียวเป็นประมาณ (ย่อมเป็น) ดังนี้ (ดังนี้), (ตรัสแล้ว) ว่า อ.บัณฑิตผู้มีในก่อน ท.ได้พระราชทานแล้ว ซึ่งตำแหน่งแห่งพระอัครมเหสี แก่หญิงผู้ขัดสนผู้นำไปซึ่งฟื น, อนึ่ง อ.พระกุมารผู้ประสูติแล้ว ในท้อง (ของหญิงผู้ขัดสน) นั้น ทรงถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งพระราชา ในเมืองชื่อว่าพาราณสี อันประกอบแล้วด้วยโยชน์สิบสอง เป็นผู้ชื่อว่ากัฏฐวาหนราชา เกิดแล้ว ดังนี้ ตรัสแล้ว ซึ่งกัฏฐหาริยชาดก ฯ103  1สตฺถา 2“อยุตฺตํ 3มหาราช 4สากิเยหิ 5กตํ, 6ททนฺเตหิ 7นาม 8สมชาติกา 9ทาตพฺพา 10อสฺส; 11ตํ 12ปน 13มหาราช 14วทามิ: 15วาสภขตฺติยา 16ขตฺติยราชธีตา 17ขตฺติยรญฺโญ 18เคเห 19อภิเสกํ 20ลภิ, 21วิฑูฑโภปิ 22ขตฺติยราชานเมว 23ปฏิจฺจ 24ชาโต; 25มาตุโคตฺตํ 26นาม 27กึ 28กริสฺสติ, 29ปิ 30ตุโคตฺตเมว 31ปมาณนฺติ, 32โปราณกปณฺฑิตา 33ทลิทฺทิตฺถิยา 34กฏฺหาริกาย 35อคฺคมเหสิฏฺานํ 36อทํสุ, 37ตสฺสา 38 39กุจฺฉิมฺหิ 40ชาตกุมาโร 41ทฺวาทสโยชนิกาย 42พาราณสิยํ 43รชฺชํ 44ปตฺวา 45กฏฺวาหนราชา 46นาม 47ชาโตติ 48กฏฺหาริยชาตกํ 49กเถสิ.
    อ.พระราชา ทรงสดับแล้วซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม ทรงยินดีแล้ว ว่า ได้ยินว่า อ.โคตรของบิดานั่นเทียว เป็นประมาณ (ย่อมเป็น) ดังนี้ (ทรงยังบุคคล) ให้พระราชทานแล้ว ซึ่งวัตถุเป็น เครื่องบริหารตามปกติ แก่พระมารดาและพระโอรส ท. นั่นเทียว ฯ104  1ราชา 2ธมฺมกถํ 3สุตฺวา 4“ปิ 5ตุโคตฺตเมว 6กิร 7ปมาณนฺติ 8ตุสิตฺวา 9มาตาปุตฺตานํ 10ปกติปริหารเมว 11ทาเปสิ.
    อ.ภรรยา ชื่อว่ามัลลิกา ผู้เป็นพระธิดาของเจ้ามัลละ ในเมือง ชื่อว่ากุสินารา แม้ของเสนาบดีชื่อว่าพันธุละ ไม่คลอดแล้ว สิ้นกาลนาน ฯ105  1พนฺธุลเสนาปติสฺสปิ 2โข 3กุสินารายํ 4มลฺลราชธีตา 5มลฺลิกา 6นาม 7ภริยา 8ทีฆรตฺตํ 9 10วิชายิ.
    ครั้งนั้น อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละ ส่งไปแล้วซึ่งภรรยานั้น (ด้วยคำ) ว่า อ.เธอ จงไป สู่เรือนแห่งตระกูล ของตนนั่นเทียว ดังนี้ ฯ106  1อถ 2นํ 3พนฺธุโล 4“อตฺตโน 5กุลฆรเมว 6คจฺฉาติ 7อุยฺโยเชสิ.
    อ.นางมัลลิกานั้น (คิดแล้ว) ว่า อ.เรา เฝ้าแล้ว ซึ่งพระศาสดา เทียว จักไป ดังนี้ เข้าไปแล้ว สู่พระเชตวันยืนถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระตถาคตเจ้า ผู้ (อันพระตถาคตเจ้า) ตรัสแล้ว ว่า อ.เธอ จะไป ในที่ไหน ดังนี้ กราบทูลแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.สามี ย่อม ส่งไป ซึ่งหม่อมฉัน สู่เรือนแห่งตระกูลดังนี้ ฯ107  1สา 2“สตฺถารํ 3ทิสฺวาว 4คมิสฺสามีติ 5เชตวนํ 6ปวิสิตฺวา 7ตถาคตํ 8วนฺทิตฺวา 9ิตา 10“กหํ 11คจฺฉสีติ 12วุตฺตา 13“สามิโก 14มํ 15ภนฺเต 16กุลฆรํ 17เปเสตีติ 18อาห.
    (อ.พระศาสดา ตรัสถามแล้ว) ว่า (อ.สามี ย่อมส่งไป ซึ่งเธอ สู่ เรือนแห่งตระกูล) เพระเหตุอะไร ดังนี้ ฯ108  1“กึการณาติ.
    (อ.นางมัลลิกา กราบทูลแล้ว) ว่า ได้ยินว่า (อ.หม่อมฉัน) เป็น หญิงหมัน เป็นหญิงไม่มีบุตร ย่อมเป็นดังนี้ ฯ109  1“วญฺฌา 2กิรสฺมิ 3อปุตฺติกาติ.
    (อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว) ว่าผิว่า ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น (มีอยู่), อ.กิจคือการไป ย่อมไม่มี, อ.เธอ จงกลับเถิด ดังนี้ ฯ110  1“ยทิ 2เอวํ, 3คมนกิจฺจํ 4นตฺถิ, 5นิวตฺตสฺสูติ.
    อ.นางมัลลิกานั้น เป็นผู้มีใจยินดีแล้ว เป็น ถวายบังคมแล้ว ซึ่ง พระศาสดา ไปแล้ว สู่นิเวศน์, (ครั้นเมื่อคำ) ว่า อ.เธอเป็นผู้กลับแล้ว ย่อมเป็น เพราะเหตุอะไร ดังนี้ (อันเสนาบดีชื่อว่าพันธุละ)กล่าวแล้ว, กล่าวแล้ว ว่า อ.ดิฉันเป็นผู้อันพระทศพลให้กลับแล้ว ย่อมเป็น ดังนี้ ฯ111  1สา 2ตุฏฺมานสา 3หุตฺวา 4สตฺถารํ 5วนฺทิตฺวา 6นิเวสนํ 7คนฺตฺวา, 8“กสฺมา 9นิวตฺตาสีติ 10วุตฺเต, 11“ทสพเลน 12นิวตฺติตมฺหีติ 13อาห.
    อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละ รับพร้อมแล้ว (ด้วยความคิด) ว่า อ. เหตุ เป็นเหตุ (อันพระทศพล)ผู้ทรงเห็นซึ่งกาลนานโดยปกติ ทรง เห็นแล้ว จักเป็น ดังนี้ ฯ112  1พนฺธุโล 2“ทิฏฺํ 3ภวิสฺสติ 4ทีฆทสฺสินา 5การณนฺติ 6สมฺปฏิจฺฉิ.
    อ.นางมัลลิกานั้น ได้เฉพาะแล้ว ซึ่งครรภ์ ต่อกาลไม่นานนั่น เทียว ผู้มีความแพ้ท้องเกิดขึ้นแล้ว บอกแล้ว ว่า อ.ความแพ้ท้อง เกิดขึ้นแล้ว แก่ดิฉัน ดังนี้ อ.พันธุละถามแล้วว่า อ.ความแพ้ท้อง อะไร ดังนี้ ฯ113  1สา 2 3จิรสฺเสว 4คพฺภํ 5ปฏิลภิตฺวา 6อุปฺปนฺนโทหฬา 7“โทหโฬ 8เม 9อุปฺปนฺโนติ 10อาโรเจสิ.
1“กึ 2โทหโฬติ.
    (อ.นางมัลลิกา กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่นาย (อ.ดิฉัน) เป็นผู้ใคร่ เพื่ออันข้ามลงแล้ว ในสระโบกขรณีอันเป็นมงคลอันเป็นที่อภิเษก แห่งตระกูลแห่งพระราชาผู้เป็นคณะ ท. ในเมืองชื่อว่าเวสาลี อาบ แล้ว ดื่ม ซึ่งน้ำอันบุคคลดื่ม ย่อมเป็น ดังนี้ ฯ114  1“เวสาลีนคเร 2คณราชกุลานํ 3อภิเสกมงฺคล- 4โปกฺขรณิยํ 5โอตริตฺวา 6นหาตฺวา 7ปานียํ 8ปาตุกามมฺหิ 9สามีติ.
    อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละ กล่าวแล้ว ว่า อ.ดีละ ดังนี้ ถือเอาแล้ว ซึ่งธนูอันบุคคลพึงโก่งด้วยเรี่ยวแรงของบุรุษพันหนึ่ง ยกขึ้นแล้ว (ซึ่งภรรยา) นั้น สู่รถ ออกไปแล้ว จากเมืองชื่อว่าสาวัตถี ขับไปอยู่ ซึ่งรถ ได้เข้าไปแล้ว สู่เมืองชื่อว่าเวสาลี โดยประตู อันเจ้าลิจฉวีท. ให้แล้ว แก่เจ้าลิจฉวีพระนามว่ามหาลิ ฯ115  1พนฺธุโล 2“สาธูติ 3วตฺวา 4สหสฺสตฺถามธนุํ 5คเหตฺวา 6ตํ 7รถํ 8อาโรเปตฺวา 9สาวตฺถิโต 10นิกฺขมิตฺวา 11รถํ 12ปาเชนฺโต 13มหาลิลิจฺฉวิโน 14ทินฺนทฺวาเรน 15เวสาลึ 16ปาวิสิ.
    ก็ อ.นิเวศน์ ของเจ้าลิจฉวีพระนามว่ามหาลิ ย่อมมี ในที่ ใกล้แห่ง ประตูนั่นเทียว ฯ116  1มหาลิลิจฺฉวิโน 2 3ทฺวารสมีเปเอว 4นิเวสนํ 5โหติ.
     (อ.เจ้าลิจฉวีพระนามว่ามหาลิ) นั้น ทรงสดับแล้ว ซึ่ง เสียงแห่งรถกระทบแล้วที่ธรณีเทียว ทรงทราบแล้ว ว่า อ.เสียงแห่งรถ ของเสนาบดีชื่อว่าพันธุละ ดังนี้ ตรัสแล้ว ว่า ในวันนี้ อ.ภัย จักเกิดขึ้น แก่เจ้าลิจฉวี ท. ดังนี้ ฯ117  1โส 2รถสฺส 3อุมฺมาเร 4ปฏิฆาตสทฺทํ 5สุตฺวาว 6“พนฺธุลสฺส 7รถสทฺโทติ 8ญตฺวา 9“อชฺช 10ลิจฺฉวีนํ 11ภยํ 12อุปฺปชฺชิสฺสตีติ 13อาห.
     อ.การอารักขา ในภายในด้วย ในภายนอกด้วย แห่งสระโบกขรณี เป็นสภาพมีกำลัง (ย่อมเป็น), อ.ข่ายอันเป็นวิการ แห่งโลหะ (อันบุคคล) ขึงแล้ว ในเบื ้องบน, อ.โอกาส ย่อมไม่มี แม้แก่ นก ท. ฯ118  1โปกฺขรณิยา 2อนฺโต 3 4พหิ 5 6อารกฺโข 7พลวา, 8อุปริ 9โลหชาลํ 10ปตฺถฏํ, 11สกุณานํปิ 12โอกาโส 13นตฺถิ.
    ส่วนว่า อ.เสนาบดีชื่อพันธุละ ข้ามลงแล้ว จากรถ โบยอยู่ ซึ่ง มนุษย์ ท. ผู้อารักขา ด้วยหวาย (ยังมนุษย์ ท. เหล่านั้น) ให้หนีไปแล้ว ตัดแล้ว ซึ่งข่ายอันเป็นวิการแห่งโลหะ ยังภรรยา ให้อาบแล้ว ในภายใน แห่งสระโบกขรณี อาบแล้ว แม้เอง ยกขึ้นแล้ว (ซึ่งภรรยา) นั้น สู่รถ อีก ออกไปแล้ว จากพระนคร ได้ออกไปแล้ว ตามหนทางแห่งตนมาแล้วนั่น เทียว ฯ119  1พนฺธุลเสนาปติ 2ปน 3รถา 4โอตริตฺวา 5อารกฺขเก 6มนุสฺเส 7เวตฺเตน 8ปหรนฺโต 9ปลาเปตฺวา 10โลหชาลํ 11ฉินฺทิตฺวา 12อนฺโตโปกฺขรณิยา 13ภริยํ 14นหาเปตฺวา 15สยํปิ 16นหาตฺวา 17ปุน 18ตํ 19รถํ 20อาโรเปตฺวา 21นครา 22นิกฺขมิตฺวา 23อาคตมคฺเคเนว 24ปายาสิ.
     (อ.มนุษย์ ท.) ผู้อารักขา กราบทูลแล้ว แก่เจ้าลิจฉวี ท. ฯ120  1อารกฺขกา 2ลิจฺฉวีนํ 3อาโรเจสุํ.
    อ.เจ้าลิจฉวี ท. กริ ้วแล้ว เสด็จขึ้นแล้ว สู่ร้อยแห่งรถ ท. ห้า เสด็จ ออกไปแล้ว (ด้วยทรงดำริ) ว่า อ.เรา ท. จักจับ ซึ่งเจ้ามัลละชื่อว่าพันธุ ละ ดังนี้ ฯ121  1ลิจฺฉวิราชาโน 2กุชฺฌิตฺวา 3ปญฺจ 4รถสตานิ 5อารุยฺห 6“พนฺธุลมลฺลํ 7คณฺหิสฺสามาติ 8นิกฺขมึสุ.
    (อ.เจ้าลิจฉวี ท. เหล่านั้น) ทรงแจ้งแล้ว ซึ่งความเป็นไป ทั่วนั้น แก่เจ้าลิจฉวีพระนามว่ามหาลิ ฯ 122  1ตํ 2ปวตฺตึ 3มหาลิสฺส 4อาโรเจสุํ.
    อ.เจ้าลิจฉวีพระนามว่ามหาลิ ตรัสแล้ว ว่า อ.ท่าน ท. อย่าไปแล้ว, เพราะว่า อ.เจ้าพันธุละนั้น จัก ฆ่า ซึ่งท่าน ท. ทั้งปวง ดังนี้ ฯ 123  1มหาลิ 2“มา 3คมิตฺถ, 4โส 5หิ 6โว 7สพฺเพ 8ฆาเตสฺสตีติ 9อาห.
     อ.เจ้าลิจฉวี ท. แม้เหล่านั้น ตรัสแล้ว ว่า อ.เรา ท. จักไป นั่นเทียว ดังนี้ ฯ 124  1เตปิ 2“มยํ 3คมิสฺสามเอวาติ 4วทึสุ.
     (อ.เจ้าลิจฉวีพระนามว่ามหาลิ) ตรัส แล้ว ว่า ถ้าอย่างนั้น อ.ท่าน ท. เห็นแล้ว ซึ่งที่แห่งล้อแห่งรถเข้าไปแล้ว สู่แผ่นดิน เพียงใด แต่ดุม พึงกลับ; อ.ท่าน ท. เมื่อไม่กลับ จากที่นั้น จักฟัง (ซึ่งเสียง) อันราวกะว่าเสียงแห่งสายฟ้าข้างหน้า, อ.ท่าน ท. พึง กลับ จากที่นั้น; อ.ท่าน ท. เมื่อไม่กลับ จากที่นั้น จักเห็น ซึ่งช่อง ที่ แอกแห่งรถ ท. ของท่าน ท., อ.ท่าน ท. พึงกลับ จากที่นั้น นั่นเทียว, อ.ท่าน ท. อย่าไปแล้ว ข้างหน้า ดังนี้ ฯ125  1“เตนหิ 2รถจกฺกสฺส 3ยาว 4นาภิโต 5ปวึ 6ปวิฏฺฏฺานํ 7ทิสฺวา 8นิวตฺเตยฺยาถ; 9ตโต 10อนิวตฺตนฺตา 11ปุรโต 12อสนิสทฺทํ 13วิย 14สุณิสฺสถ, 15ตมฺหา 16านา 17นิวตฺเตยฺยาถ; 18ตโต 19อนิวตฺตนฺตา 20ตุมฺหากํ 21รถธุเรสุ 22ฉิทฺทํ 23ปสฺสิสฺสถ, 24ตมฺหา 25านา 26นิวตฺเตยฺยาเถว, 27ปุรโต 28มา 29คมิตฺถาติ 30อาห.
    อ.เจ้าลิจฉวี ท. เหล่านั้น ไม่เสด็จกลับแล้ว ตามคำ ของเจ้าลิจฉวี พระนามว่ามหาลินั้น เสด็จติดตามแล้ว ซึ่งเสนาบดีชื่อว่าพันธุละนั้น นั่นเทียว ฯ126  1เต 2ตสฺส 3วจเนนานิวตฺติตฺวา 4ตํ 5อนุพนฺธึสุเยว.
    อ.นางมัลลิกา เห็นแล้ว กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่นาย อ.รถ ท. ย่อมปรากฏ ดังนี้ ฯ 127  1มลฺลิกา 2ทิสฺวา 3“รถา 4สามิ 5ปญฺญายนฺตีติ 6อาห.
     (อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละ) (กล่าวแล้ว) ว่า ถ้าอย่าง นั้น อ.เธอ พึงบอก ในกาลเป็นที่ปรากฏ แห่งรถ คันเดียวกันนั่นเทียว ดังนี้ ฯ128  1“เตนหิ 2เอกสฺเสว 3รถสฺส 4ปญฺญายนกาเล 5อาโรเจยฺยาสีติ.
    อ.นางมัลลิกานั้น ในกาลใด (อ.รถ ท.) ทั้งปวง ปรากฏแล้ว เป็น ราวกะว่า คันเดียวกัน เป็น, กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่นาย อ.งอนแห่งรถ อันเดียวกันนั่นเทียว ย่อมปรากฏ ดังนี้ ในกาลนั้น ฯ129  1สา, 2ยทา 3สพฺเพ 4เอโก 5วิย 6หุตฺวา 7ปญฺญายึสุ, 8ตทา 9“เอกเมว 10สามิ 11รถสีสํ 12ปญฺญายตีติ 13อาห.
    อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละ (กล่าวแล้ว) ว่า ถ้าอย่างนั้น อ.เธอ จงจับ ซึ่งเชือก ท. เหล่านี้ ดังนี้ ให้แล้ว ซึ่งเชือก ท. แก่นางมัลลิกา นั้น ยืนแล้ว บนรถเทียว โก่งแล้ว ซึ่งธนู ฯ130  1พนฺธุโล 2“เตนหิ 3อิมา 4รสฺมิโย 5คณฺหาติ 6ตสฺสา 7รสฺมิโย 8ทตฺวา 9รเถ 10ิโตว 11ธนุํ 12อาโรเปสิ.
    อ.เจ้าลิจฉวี ท. ทรงเห็นแล้ว ซึ่งที่นั้น ไม่เสด็จกลับแล้ว ฯ131  1ลิจฺฉวิโน 2ตํ 3านํ 4ทิสฺวา 5 6นิวตฺตึสุ.
    อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละนอกนี้ ไปแล้ว หน่อยหนึ่ง ดีดแล้ว ซึ่งสาย ฯ132  1อิตโร 2โถกํ 3คนฺตฺวา 4ชิยํ 5โปเถสิ.
    (อ.เสียงนั้น) เป็นราวกะว่าเสียงแห่งสายฟ้า ได้เป็นแล้ว ฯ133  1อสนิสทฺโท 2วิย 3อโหสิ.
    อ.เจ้าลิจฉวี ท. เหล่านั้น ไม่เสด็จกลับแล้ว จากที่แม้นั้น ย่อมเสด็จติดตามไปอยู่นั่นเทียว ฯ134  1เต 2ตโตปิ 3 4นิวตฺตึสุ, 5อนุพนฺธนฺตา 6คจฺฉนฺเตว.
    อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละ ยืนแล้ว บนรถเทียว ซัดไปแล้ว ซึ่งลูกศร ดอกหนึ่ง ฯ136  1พนฺธุโล 2รเถ 3ิตโกว 4เอกํ 5สรํ 6ขิปิ.
    อ.ลูกสร นั้น กระทำแล้ว ซึ่งช่องที่งอนแห่งรถ แห่งร้อย แห่งรถ ท. ห้า ทะลุแล้ว ซึ่งร้อยแห่งพระราชา ท. ห้า ในที่เป็นที่ผูก ซึ่งเกราะ ได้เข้าไปแล้ว ในแผ่นดิน ฯ137  1โส 2ปญฺจนฺนํ 3รถสตานํ 4รถสีเส 5ฉิทฺทํ 6กตฺวา 7ปญฺจ 8ราชสตานิ 9ปริกรพนฺธนฏฺาเน 10วินิวิชฺฌิตฺวา 11ปวิยํ 12ปาวิสิ.
    อ.เจ้าลิจฉวี ท. เหล่านั้น ไม่ทรงทราบแล้ว ซึ่งความที่แห่ง พระองค์เป็นผู้อันลูกศรแทงแล้ว ตรัสอยู่ ว่า เว้ย อ.เจ้า จงหยุด เว้ย อ.เจ้า จงหยุด ดังนี้ เสด็จติดตามไปแล้วนั่นเทียว ฯ138  1เต 2อตฺตโน 3วิทฺธภาวํ 4อชานิตฺวา 5“ติฏฺ 6เร, 7ติฏฺ 8เรติ 9วทนฺตา 10อนุพนฺธึสุเยว.
    อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละ หยุดแล้ว ซึ่งรถ กล่าวแล้ว ว่า อ.ท่าน ท. เป็นคนตายแล้ว (ย่อมเป็น) อ.การรบ แห่งเรา กับด้วยชน ท. ผู้ตายแล้ว ย่อมไม่มี ดังนี้ ฯ139  1พนฺธุโล 2รถํ 3เปตฺวา 4“ตุมฺเห 5มตกา, 6มตเกหิ 7สทฺธึ 8มยฺหํ 9ยุทฺธํ 10นาม 11นตฺถีติ 12อาห.
    ( อ.เจ้าลิจฉวี ท. ตรัสแล้ว) ว่า ชื่อ อ.ชน ท. ผู้ตายแล้ว เป็นเช่นกับด้วยเรา ย่อมเป็น หามิได้ ดังนี้ ฯ140  1“มตกา 2นาม 3อมฺหาสทิสา 4 5โหนฺตีติ.
    (อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละ กล่าวแล้ว) ว่า ถ้าอย่างนั้น อ.ท่าน ท.จงแก้ ซึ่งเกราะ (ของเจ้าลิจฉวี) ผู้มีในภายหลังแห่งเจ้าลิจฉวีทั้งปวง ดังนี้ ฯ141  1“เตนหิ 2สพฺพปจฺฉิมสฺส 3ปริกรํ 4โมเจถาติ.
    อ.เจ้าลิจฉวี ท. เหล่านั้น ทรงแก้แล้ว ฯ142  1เต 2โมจยึสุ.
    อ.เจ้าลิจฉวีนั้น (ครั้นเมื่อเกราะ) เป็นของสักว่าพ้นแล้วนั่นเทียว (มีอยู่) ทรงล้ม สิ้นพระชนม์แล้ว ฯ143  1โส 2มุตฺตมตฺเตเยว 3มริตฺวา 4ปติ.
    ครั้งนั้น (อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละ) กล่าวแล้ว กะเจ้าลิจฉวี ท. เหล่านั้น ว่า อ.ท่าน ท. แม้ทั้งปวง เป็นผู้มีอย่างนี้เป็นรูป (ย่อมเป็น), อ.ท่าน ท. ไปแล้ว สู่เรือน ท.ของตน ๆ จัดแจงแล้ว (ซึ่งกิจ) อันตนพึงจัดแจงพร่ำสอนแล้ว ซึ่งลูกและเมีย จงแก้ ซึ่งเกราะเถิด ดังนี้ ฯ144  1อถ 2เน 3“สพฺเพปิ 4ตุมฺเห 5เอวรูปา, 6อตฺตโน 7อตฺตโน 8ฆรานิ 9คนฺตฺวา 10สํวิธาตพฺพํ 11สํวิทหิตฺวา 12ปุตฺตทารํ 13อนุสาสิตฺวา 14สนฺนาหํ 15โมเจถาติ 16อาห.
    อ.เจ้าลิจฉวี ท.เหล่านั้น ทรงกระทำแล้วอย่างนั้น แม้ทั้งปวง ทรงถึงแล้ว ซึ่งความสิ้นไปแห่งพระชนม์ฯ145  1เต 2ตถา 3กตฺวา 4สพฺเพปิ 5ชีวิตกฺขยํ 6ปตฺตา.
    แม้ อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละ นำมาแล้ว ซึ่งนางมัลลิกา สู่เมือง ชื่อว่าสาวัตถี ฯ146  1พนฺธุโลปิ 2มลฺลิกํ 3สาวตฺถึ 4อาเนสิ.
    อ.นางมัลลิกานั้น คลอดแล้ว ซึ่งบุตร ท. ผู้เป็นคู่ ๆ 16 ครั้ง ฯ147  1สา 2โสฬสกฺขตฺตุํ 3ยมเก 4ยมเก 5ปุตฺเต 6วิชายิ.
    อ.บุตร ท. แม้ทั้งปวง เป็นผู้กล้า เป็นผู้พรั ้งพร้อมแล้วด้วย เรี่ยวแรง ได้เป็นแล้ว ฯ148  1สพฺเพปิ 2สูรา 3ถามสมฺปนฺนา 4อเหสุํ.
    (อ.บุตร ท. เหล่านั้น) ถึงแล้ว ซึ่งความสำเร็จ แห่งศิลปะ ทั้งปวง ท. ฯ149  1สพฺพสิปฺปานํ 2นิปฺผตฺตึ 3ปาปุณึสุ.
    อ.พันแห่งบุรุษ เป็นบริวาร (ของบุตร) คนหนึ่ง ๆ ได้เป็นแล้ว ฯ150  1เอเกกสฺส 2ปุริสสหสฺสํ 3ปริวาโร 4อโหสิ.
    อ.เนินแห่งพระราชา เต็มรอบแล้ว (ด้วยบุตร ท.) เหล่านั้น ผู้ไปอยู่ สู่พระราชนิเวศน์ กับ ด้วยบิดานั่นเทียว ฯ151  1ปิ 2ตรา 3สทฺธึ 4ราชนิเวสนํ 5คจฺฉนฺเตหิ 6เตเหว 7ราชงฺคณํ 8ปริปูริ.
    ครั้งนั้น ในวันหนึ่ง อ.มนุษย์ ท. ผู้แพ้แล้วเพราะคดีโกง ในการ วินิจฉัย เห็นแล้ว ซึ่งเสนาบดีชื่อว่าพันธุละ ผู้มาอยู่ ร้องแล้ว ร้องใหญ่ บอกแล้ว ซึ่งการกระทำซึ่งคดีโกง แห่งอำมาตย์ผู้วินิจฉัย ท. แก่เสนาบดีชื่อว่าพันธุละนั้น ฯ152  1อเถกทิวสํ 2วินิจฺฉเย 3กุฏฏฺฏปราชิตา 4มนุสฺสา 5พนฺธุลํ 6อาคจฺฉนฺตํ 7ทิสฺวา 8มหาวิรวํ 9วิรวนฺตา 10วินิจฺฉยมจฺจานํ 11กุฏฏฺฏกรณํ 12ตสฺส 13อาโรเจสุํ.
    อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละนั้น ไปแล้ว สู่โรงเป็นที่วินิจฉัย พิจารณา แล้ว ซึ่งคดีนั้น ได้กระทำแล้ว ซึ่งเจ้าของนั่นเทียว ให้เป็นเจ้าของ ฯ153  1โส 2วินิจฺฉยํ 3คนฺตฺวา 4ตํ 5อฏฺฏํ 6ตีเรตฺวา 7สามิกเมว 8สามิกํ 9อกาสิ.
    อ. มหาชน ยังสาธุการ ให้เป็นไปทั่วแล้ว ด้วยเสียงใหญ่ ฯ154  1มหาชโน 2มหาสทฺเทน 3สาธุการํ 4ปวตฺเตสิ.
    อ.พระราชา ทรงสดับแล้ว ซึ่งเสียงนั้น ตรัสถามแล้ว ว่า (อ.เสียง) นี้ อะไร ดังนี้ ทรงสดับแล้ว ซึ่งเนี้อความนั้น ทรงยินดีแล้ว (ทรงยังบุคคล) ให้ถอดแล้ว ซึ่งอำมาตย์ ท. เหล่านั้น แม้ทั้งปวง ทรงมอบให้แล้ว ซึ่งการวินิจฉัย แก่เสนาบดีชื่อว่าพันธุละนั่นเทียว ฯ155  1ตํ 2สุตฺวา 3ราชา 4“กึ 5อิทนฺติ 6ปุจฺฉิตฺวา 7ตมตฺถํ 8สุตฺวา 9ตุสิตฺวา 10สพฺเพปิ 11เต 12อมจฺเจ 13หราเปตฺวา 14พนฺธุลสฺเสว 15วินิจฺฉยํ 16นิยฺยาเทสิ.
    อ.เสนาบดี ชื่อว่าพันธุละนั้น ตัดสินแล้ว โดยชอบ จำเดิม แต่ กาลนั้น ฯ156  1โส 2ตโต 3ปฏฺาย 4สมฺมา 5วินิจฺฉยิ.
    ในลำดับนั้น อ.อำมาตย์ ท. ผู้กระทำซึ่งการตัดสินอันมีในก่อน ไม่ได้อยู่ ซึ่งสินบน เป็นผู้มีลาภน้อย เป็น ยุยงแล้ว ในราชตระกูล ว่า อ.เสนาบดีชื่อว่าพันธุละ ย่อมปรารถนา ซึ่งความเป็นแห่งพระราชา ดังนี้ ฯ157  1ตโต 2โปราณกวินิจฺฉยิกา 3อมจฺจา 4ลญฺจํ 5อลภนฺตา 6อปฺปลาภา 7หุตฺวา 8“พนฺธุโล 9รชฺชํ 10ปตฺเถตีติ 11ราชกุเล 12ปริภินฺทึสุ.
    อ.พระราชา ทรงเชื่อแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าว ของอำมาตย์ท. เหล่านั้น ไม่ได้ทรงอาจแล้ว เพื่ออันข่ม ซึ่งพระทัย, ทรงดำริแล้ว อีก ว่า ครั้นเมื่อพันธุละนี้ (อันเรา) ฆ่าอยู่ ในที่นี้นั่นเทียว, อ.ความติเตียน จักเกิดขึ้น แก่เรา ดังนี้ ทรงยังบุรุษอันพระองค์ทรงประกอบแล้ว ท. ให้รังควานแล้ว ซึ่งประเทศอันเป็นที่สุดเฉพาะ (ทรงยังบุคคล) ให้ร้อง เรียกแล้ว ซึ่งเสนาบดีชื่อว่าพันธุละ ทรงส่งไปแล้ว (ด้วยพระดำรัส) ว่า ได้ยินว่า อ.ประเทศอันเป็นที่สุดเฉพาะ (อันโจร ท.) ให้กำเริบแล้ว, อ.ท่าน ไปแล้ว กับ ด้วยบุตร ท. จงจับ ซึ่งโจร ท. ดังนี้ ทรงส่งไปแล้ว ซึ่งทหารผู้ใหญ่ ท. ผู้สามารถ แม้เหล่าอื่น กับ ด้วยเสนาบดีชื่อว่า พันธุละนั้น (ด้วยพระดำรัส) ว่า อ.ท่าน ท. ตัดแล้ว ซึ่งศีรษะ ของเสนาบดี ชื่อว่าพันธุละนั้น กับ ด้วยบุตร ท. ๓๒ ในที่นั่นนั่นเทียว จงนำมา ดังนี้ ฯ158  1ราชา 2เตสํ 3กถํ 4คเหตฺวา 5จิตฺตํ 6นิคฺคเหตุํ 7นาสกฺขิ, 8“อิมสฺมึ 9อิเธว 10ฆาติยมาเน, 11ครหา 12เม 13อุปฺปชฺชิสฺสตีติ 14ปุน 15จินฺเตตฺวา 16ปยุตฺตปุริเสหิ 17ปจฺจนฺตํ 18ปหราเปตฺวา 19พนฺธุลํ 20ปกฺโกสาเปตฺวา 21“ปจฺจนฺโต 22กิร 23กุปิ 24โต, 25ตฺวํ 26ปุตฺเตหิ 27สทฺธึ 28คนฺตฺวา 29โจเร 30คณฺหาติ 31ปหิณิตฺวา 32“เอตฺเถวสฺส 33ทฺวตฺตึสาย 34ปุตฺเตหิ 35สห 36สีสํ 37ฉินฺทิตฺวา 38อาหรถาติ 39เตน 40สทฺธึ 41อญฺเญปิ 42สมตฺเถ 43มหาโยเธ 44เปเสสิ.
    ครั้นเมื่อเสนาบดีชื่อว่าพันธุละนั้น ไปอยู่ สู่ประเทศอันเป็นที่สุด เฉพาะนั่นเทียว, อ.โจรผู้อันพระราชาทรงประกอบแล้ว ท. (กล่าวกัน แล้ว) ว่า ได้ยินว่า อ.เสนาบดี มาอยู่ ดังนี้ หนีไปแล้ว ฯ159  1ตสฺมึ 2ปจฺจนฺตํ 3คจฺฉนฺเตเยว, 4“เสนาปติ 5กิราคจฺฉตีติ 6ปยุตฺตโจรา 7ปลายึสุ.
     อ.เสนาบดีชื่อ ว่าพันธุละนั้น ยังประเทศนั้น ให้สงบแล้ว ให้ตั้งอยู่พร้อมแล้ว กลับ แล้ว ฯ160  1โส 2ตํ 3ปเทสํ 4อาวาสาเปตฺวา 5สณฺาเปตฺวา 6นิวตฺติ.
    ครั้งนั้น อ.ทหาร ท. เหล่านั้น ตัดแล้ว ซึ่งศีรษะ ของเสนาบดีชื่อว่า พันธุละนั้น กับ ด้วยบุตร ท. ในที่ อันไม่ไกล จากพระนคร ฯ161  1อถสฺส 2นครโต 3อวิทูเร 4าเน 5เต 6โยธา 7สทฺธึ 8ปุตฺเตหิ 9สีสํ 10ฉินฺทึสุ.
    ในวันนั้น อ.พระอัครสาวก ท. ๒ กับ ด้วยร้อยแห่งภิกษุ ท. ๕ เป็น- ผู้อันเทวี ชื่อว่ามัลลิกา นิมนต์แล้ว ย่อมเป็น ฯ162  1ตํ 2ทิวสํ 3มลฺลิกาย 4เทวิยา 5ปญฺจหิ 6ภิกฺขุสเตหิ 7สทฺธึ 8เทฺว 9อคฺคสาวกา 10นิมนฺติตา 11โหนฺติ.
    ครั้งนั้น (อ.ชน ท.)นำมาแล้ว ซึ่งหนังสือ ได้ให้แล้ว แก่นางมัลลิกา นั้น ในสมัยอันเป็นเบื ้องต้นแห่งวันนั่นเทียว (มีอันให้รู้)ว่า (อ.ทหาร ท.) ย่อมตัด ซึ่งศีรษะของสามี ของท่าน กับ ด้วยบุตร ท. ดังนี้ (เป็นเหตุ) ฯ163  1อถสฺสา 2ปุพฺพณฺเหเยว 3“สามิกสฺส 4เต 5สทฺธึ 6ปุตฺเตหิ 7สีสํ 8ฉินฺทนฺตีติ 9ปณฺณํ 10อาหริตฺวา 11อทํสุ.
    อ.นางมัลลิกานั้น รู้แล้ว ซึ่งความเป็นไปทั่วนั้น ไม่กล่าวแล้ว แก่ใคร ๆกระทำแล้ว ซึ่งหนังสือ ในชายพก อันคาสแล้ว ซึ่งหมู่แห่งภิกษุ นั่นเทียว ฯ164  1สา 2ตํ 3ปวตฺตึ 4ญตฺวา 5กสฺสจิ 6อวตฺวา 7ปณฺณํ 8อุจฺฉงฺเค 9กตฺวา 10ภิกฺขุสงฺฆเมว 11ปริวิสิ.
    ครั้งนั้น (อ.หญิง ท.) ผู้รับใช้ ของนางมัลลิกานั้น ถวายแล้ว ซึ่งภัตร แก่ภิกษุ ท. นำมาอยู่ ซึ่งถาดแห่งเนยใส ทำลายแล้ว ซึ่งถาด ข้างหน้า ของพระเถระ ท.ฯ165  1อถสฺสา 2ปริจาริกาโย 3ภิกฺขูนํ 4ภตฺตํ 5ทตฺวา 6สปฺปิ 7จาฏึ 8อาหรนฺติโย 9เถรานํ 10ปุรโต 11จาฏึ 12ภินฺทึสุ.
    อ.พระธรรมเสนาบดี กล่าวแล้ว ว่า (อ.นามรูป) มีอันแตกไป เป็นธรรม แตกไปแล้ว (อันใคร ๆ) ไม่พึงคิด ดังนี้ ฯ166  1ธมฺมเสนาปติ 2“เภทนธมฺมํ 3ภินฺนํ 4 5จินฺเตตพฺพนฺติ 6อาห.
    อ.นางมัลลิกานั้น นำออกแล้ว ซึ่งหนังสือ จากชายพก กล่าว แล้ว ว่า (อ.ชน ท.) นำมาแล้ว ซึ่งหนังสือ นี้ แก่ดิฉัน (มีอันให้รู้) ว่า (อ.ทหาร ท.) ย่อมตัด ซึ่งศีรษะ ของบิดา กับ ด้วยบุตร ท. ๓๒ ดังนี้ (เป็นเหตุ) อ.ดิฉัน แม้ฟังแล้ว ซึ่งเรื่องนี้ ไม่คิดแล้ว; ข้าแต่ท่าน ผู้เจริญ ครั้นเมื่อถาดแห่งเนยใน แตกไปแล้ว, อ.ดิฉัน จักคิด ซึ่งอะไร ดังนี้ ฯ167  1สา 2อุจฺฉงฺคโต 3ปณฺณํ 4นีหริตฺวา 5“ทฺวตฺตึสาย 6ปุตฺเตหิ 7สทฺธึ 8ปิ 9ตุ 10สีสํ 11ฉินฺทนฺตีติ 12เม 13อิมํ 14ปณฺณํ 15อาหรึสุ, 16อหํ 17อิทํ 18สุตฺวาปิ 19 20จินฺเตสึ; 21สปฺปิ 22จาฏิยา 23ภินฺนาย, 24กึ 25จินฺเตสฺสามิ 26ภนฺเตติ 27อาห.
    อ.พระธรรมเสนาบดี กล่าวแล้ว (ซึ่งคำ ท.) มีคำว่า อ.ชีวิต (ของสัตว์ ท.) ผู้มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ ในโลกนี้ ไม่มีเครื่องหมายด้วย (อันใครๆ) ไม่รู้แล้วด้วย อันฝืดเคืองด้วย อันนิดหน่อยด้วย อนึ่ง (อ.ชีวิต) นั้น ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยทุกข์ ดังนี้เป็นต้น แสดงแล้ว ซึ่งธรรม ลุกขึ้นแล้ว จากอาสนะ ได้ไปแล้ว สู่วิหาร ฯ168  1ธมฺมเสนาปติ 2“อนิมิตฺตมนญฺญาตํ 3มจฺจานํ 4อิธ 5ชีวิตํ 6กสิรญฺจ 7ปริตฺตญฺจ 8ตญฺจ 9ทุกฺเขน 10สํยุตฺตนฺติ 11อาทีนิ 12วตฺวา 13ธมฺมํ 14เทเสตฺวา 15อุฏฺายาสนา 16วิหารํ 17อคมาสิ.
    อ.นางมัลลิกาแม้นั้น (ยังบุคคล) ให้ร้องเรียกแล้ว ซึ่งหญิง สะใภ้ ๓๒ ท. กล่าวสอนแล้ว ว่า อ.สามี ท. ของเจ้า ท. เป็นผู้- มีความผิดออกแล้ว (เป็น) ได้แล้ว ซึ่งผลแห่งกรรมมีในก่อน ของตน, อ.เจ้า ท. อย่าเศร้าโศกแล้ว อย่าคร่ำครวญแล้ว, อย่ากระทำแล้ว ซึ่งกิเลสเป็นเหตุประทุษร้ายแห่งใจ ในเบื ้องบนแห่งพระราชา ดังนี้ ฯ168  1สาปิ 2ทฺวตฺตึสสุณิสาโย 3ปกฺโกสาเปตฺวา 4“ตุมฺหากํ 5สามิกา 6นิรปราธา 7อตฺตโน 8ปุริมกมฺมผลํ 9ลภึสุ, 10ตุมฺเห 11มา 12โสจิตฺถ 13มา 14ปริเทวิตฺถ, 15รญฺโญ 16อุปริ 17มโนปโทสํ 18มา 19กริตฺถาติ 20โอวทิ.
    อ.บุรุษผู้เที่ยวไป ท. ของพระราชา ฟังแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่อง กล่าว นั้นกราบทูลแล้ว ซึ่งความที่แห่งชน ท. เหล่านั้นเป็นผู้มีโทษ ออกแล้ว แก่พระราชา ฯ169  1รญฺโญ 2จรปุริสา 3ตํ 4กถํ 5สุตฺวา 6เตสํ 7นิทฺโทสภาวํ 8รญฺโญ 9กถยึสุ.
    อ.พระราชาผู้ทรงถึงแล้วซึ่งความสลด เสด็จไปแล้ว สู่นิเวศน์ ของนางมัลลิกานั้น ทรงยังนางมัลลิกาด้วย ทรงยังหญิงสะใภ้ ท. ของนางมัลลิกานั้นด้วย ให้อดโทษแล้ว ได้พระราชทานแล้ว ซึ่งพร แก่นางมัลลิกา ฯ170  1ราชา 2สํเวคปฺปตฺโต 3ตสฺสา 4นิเวสนํ 5คนฺตฺวา 6มลฺลิกญฺจ 7สุณิสาโย 8จสฺสา 9ขมาเปตฺวา 10มลฺลิกาย 11วรํ 12อทาสิ.
    อ.นางมัลลิกานั้น กราบทูลแล้ว ว่า อ.พร เป็นพรอันหม่อม ฉันรับแล้ว จงเป็นเถิด ดังนี้ ครั้นเมื่อพระราชานั้น เสด็จไปแล้ว, ถวายแล้ว ซึ่งภัตรเพื่อบุคคลผู้ตายแล้ว อาบแล้ว เข้าไปเฝ้าแล้ว ซึ่งพระราชา กราบทูลแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อ.พร อันพระองค์ ท. พระราชทานแล้ว แก่หม่อมฉัน, อนึ่ง อ.ความ ต้องการ ด้วยวัตถุอื่น ย่อมไม่มี แก่หม่อมฉัน, อ.พระองค์ ท.ขอจง ทรงอนุญาต ซึ่งการไปสู่เรือนแห่งตระกูล แก่หญิงสะใภ้ ท. ๓๒ของ หม่อมฉันด้วย แก่หม่อมฉันด้วย ดังนี้ ฯ171  1สา 2“วโร 3คหิโต 4เม 5โหตูติ 6วตฺวา, 7ตสฺมึ 8คเต, 9มตกภตฺตํ 10ทตฺวา 11นหาตฺวา 12ราชานํ 13อุปสงฺกมิตฺวา 14“เทว 15ตุมฺเหหิ 16เม 17วโร 18ทินฺโน, 19มยฺหญฺจ 20อญฺเญน 21อตฺโถ 22นตฺถิ, 23ทฺวตฺตึสาย 24 25เม 26สุณิสานํ 27มมญฺจ 28กุลฆรคมนํ 29อนุชานาถาติ 30อาห.
    อ.พระราชา ทรงรับพร้อมแล้ว ฯ172  1ราชา 2สมฺปฏิจฺฉิ.
    (อ.นางมัลลิกา) ส่งไปแล้ว ซึ่งหญิงสะใภ้ ท. ๓๒ สู่ตระกูล ท. อันเป็นของตนอย่างไร แม้เอง ฯ173  1สยํปิ 2ทฺวตฺตึสสุณิสา 3ยถาสกานิ 4กุลานิ 5เปเสสิ.
    (อ.นางมัลลิกา) ได้ไปแล้ว สู่เรือนแห่งตระกูล ของตน ในเมือง ชื่อว่ากุสินารา ฯ174  1สา 2กุสินารายํ 3อตฺตโน 4กุลฆรํ 5อคมาสิ.
    แม้ อ.พระราชา ได้พระราชทานแล้ว ซึ่งตำแหน่งแห่งเสนาบดี ชื่อ แก่ทีฆการายนะ ผู้เป็นหลาน ของเสนาบดีชื่อว่าพันธุละ ฯ175  1ราชาปิ 2พนฺธุลเสนาปติโน 3ภาคิเนยฺยสฺส 4ทีฆการายนสฺส 5นาม 6เสนาปติฏฺานํ 7อทาสิ.
    ก็ อ.เสนาบดีชื่อว่าทีฆการายนะ นั้น (คิดแล้ว) ว่า อ.ลุง ของเรา อันพระราชนี้ ให้ตายแล้ว ดังนี้ ย่อมเที่ยวแสวงหาอยู่ ซึ่งช่อง ของพระ- ราชา ฯ176  1โส 2ปน 3“มาตุโล 4เม 5อิมินา 6มาริโตติ 7รญฺโญ 8โอตารํ 9คเวสนฺโต 10วิจรติ.
    ได้ยินว่า อ.พระราชา เป็นผู้มีความเดือดร้อน เป็น ไม่ทรงได้อยู่ ซึ่งความเบาแห่งพระทัย ไม่ทรงเสวยอยู่ ซึ่งสุขในความเป็นแห่งพระ- ราชา จำเดิม แต่กาล แห่งเสนาบดีชื่อว่าพันธุละ ผู้มีความผิดออกแล้ว (อันพระองค์) ให้ตายแล้ว ฯ177  1ราชา 2กิร 3นิรปราธสฺส 4พนฺธุลสฺส 5มาริตกาลโต 6ปฏฺาย 7วิปฺปฏิสารี 8หุตฺวา 9จิตฺตสฺสาทํ 10 11ลภติ 12รชฺชสุขํ 13นานุโภติ.
    ในกาลนั้น อ.พระศาสดา ทรงอาศัย ซึ่งนิคม ชื่อว่า เมทฬุปะ ของเจ้าศากยะ ท. ย่อมประทับอยู่ ฯ178  1ตทา 2สตฺถา 3สากิยานํ 4เมทฬุปํ 5นาม 6นิคมํ 7นิสฺสาย 8วิหรติ.
    อ.พระราชา เสด็จไปแล้ว ในที่นั้น (ทรงยังราชบุรุษ ท.) ให้ตั้งแล้ว ซึ่งค่ายในที่ไม่ไกล จากอาราม เสด็จไปแล้ว สู่วิหาร ด้วยบริวาร หมู่ใหญ่ (ด้วยทรงดำริ) ว่า อ.เรา จักถวายบังคม ซึ่งพระศาสดา ดังนี้ พระราชทาน แล้ว ซึ่งราชกกุธภัณฑ์ ท. 5 แก่เสนาบดีชื่อว่าทีฆการายนะ ผู้ผู้เดียว เทียว ได้เสด็จเข้าไปแล้ว สู่พระคันธกุฎี ฯ179  1ราชา 2ตตฺถ 3คนฺตฺวา 4อารามโต 5อวิทูเร 6ขนฺธาวารํ 7นิวาเสตฺวา 8มหนฺเตน 9ปริวาเรน 10“สตฺถารํ 11วนฺทิสฺสามีติ 12วิหารํ 13คนฺตฺวา 14ปญฺจ 15ราชกกุธภณฺฑานิ 16ทีฆการายนสฺส 17ทตฺวา 18เอกโกว 19คนฺธกุฏึ 20ปาวิสิ.
    อ.เรื่องทั้งปวง (อันบัณฑิต) พึงทราบ ตามทำนองแห่งธรรม- เจติยสูตร ฯ180  1สพฺพํ 2ธมฺมเจติยสุตฺตนิยาเมน 3เวทิตพฺพํ.
    ครั้นเมื่อพระราชานั้น เสด็จเข้าไปแล้ว สู่พระคันธกุฎี, อ.เสนาบดีชื่อว่าทีฆการายะ ถือเอาแล้ว ซึ่งราชกกุธภัณฑ์ ท. เหล่านั้น กระทำแล้ว ซึ่งพระกุมารพระนามว่าวิฑูฑภะ ให้เป็นพระราชา เหลือไว้- แล้วซึ่งม้าตัวหนึ่งด้วย ซึ่งมาตุคาม ผู้กระทำซึ่งการบำรุง คนหนึ่งด้วย แก่พระราชา กลับแล้ว ได้ไปแล้ว สู่เมืองชื่อว่าสาวัตถี ฯ181  1ตสฺมึ 2คนฺธกุฏึ 3ปวิฏฺเ, 4ทีฆการายโน 5ตานิ 6ราชกกุธภณฺฑานิ 7คเหตฺวา 8วิฑูฑภํ 9ราชานํ 10กตฺวา 11รญฺโญ 12เอกํ 13อสฺสํ 14เอกญฺจ 15อุปฏฺานการิกํ 16มาตุคามํ 17เปตฺวา 18นิวตฺเตตฺวา 19สาวตฺถึ 20อคมาสิ.
    อ.พระราชาตรัสแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวอันเป็นที่รัก กับด้วย พระศาสดา เสด็จออกไปแล้ว ไม่ทรงเห็นแล้วซึ่งเสนา ตรัสถามแล้ว ซึ่งมาตุคาม นั้น ทรงสดับแล้ว ความเป็นไปทั่ว นั้น (ทรงดำริแล้ว) ว่า อ.เรา พาเอา ซึ่งหลาน ไปแล้ว จักจับ วึ่งวิฑูฑภะ ดังนี้ เสด็จไปอยู่ สู่เมืองชื่อว่าราชคฤห์ ครั้นเมื่อประตู ท. (อันบุคคล) ปิดแล้ว ในเวลา วิกาล, เสด็จถึงแล้ว ซึ่งพระนคร บรรทมแล้ว ในศาลาหลังหนึ่งผู้ทรง บอบช้ำแล้วเพราะลมและแดด ได้ทรงกระทำแล้ว ซึ่งกาละ ในที่นั้น นั่นเทียว ในส่วนแห่งราตรี ฯ182  1ราชา 2สตฺถารา 3สทฺธึ 4ปิ 5ยกถํ 6กเถตฺวา 7นิกฺขนฺโต 8เสนํ 9อทิสฺวา 10ตํ 11มาตุคามํ 12ปุจฺฉิตฺวา 13ตํ 14ปวตฺตึ 15สุตฺวา 16“ภาคิเนยฺยํ 17อาทาย 18คนฺตฺวา 19วิฑูฑภํ 20คเหสฺสามีติ 21ราชคหนครํ 22คจฺฉนฺโต 23วิกาเล 24ทฺวาเรสุ 25ปิ 26ทหิเตสุ, 27นครํ 28ปตฺวา 29เอกิสฺสา 30สาลาย 31นิปชฺชิตฺวา 32วาตาตปกิลนฺโต 33รตฺติภาเค 34ตตฺเถว 35กาลมกาสิ.
    ครั้นเมื่อราตรี สว่างแล้ว, (อ.ชน ท.) ฟังแล้ว ซึ่งเสียง ของหญิงนั้น ผู้บ่นเพ้ออยู่ ว่า ข้าแต่พระราชาผู้เป็นจอมแห่งชนชาวโกศล ผู้สมมติเทพ (อ.พระองค์) เป็นผู้มีที่พึ่ง หามิได้ เป็นผู้เกิดแล้ว ย่อมเป็นดังนี้ กราบทูลแล้ว แก่พระราชา ฯ183  1วิภาตาย 2รตฺติยา, 3“เทว 4โกสลนรินฺท 5อนาโถ 6ชาโตสีติ 7วิลปนฺติยา 8ตสฺสา 9อิตฺถิยา 10สทฺทํ 11สุตฺวา 12รญฺโญ 13อาโรเจสุํ.
    อ.พระราชานั้น (ทรงยังบุคคล) ให้กระทำแล้ว ซึ่งกิจด้วยพระสรีระ ของพระเจ้าลุง ด้วยสักการะ อันใหญ่ ฯ184  1โส 2มาตุลสฺส 3มหนฺเตน 4สกฺกาเรน 5สรีรกิจฺจํ 6กาเรสิ.
    แม้ อ.พระเจ้าวิฑูฑภะ ทรงได้แล้ว ซึ่งความเป็นแห่งพระราชา ทรงระลึกถึงแล้ว ซึ่งเวร นั้น (ทรงดำริแล้ว) ว่า อ.เรา ยังเจ้าศากยะ ท. แม้ทั้งปวง จักให้ตาย ดังนี้ เสด็จออกไปแล้ว ด้วยเสนาหมู่ใหญ่ ฯ185  1วิฑูฑโภปิ 2รชฺชํ 3ลภิตฺวา 4ตํ 5เวรํ 6สริตฺวา 7“สพฺเพปิ 8สากิเย 9มาเรสฺสามีติ 10มหติยา 11เสนาย 12นิกฺขมิ.
    ในวันนั้น อ.พระศาสดา ทรงตรวจดูอยู่ ซึ่งโลก ในกาลอัน ขจัดเฉพาะซึ่งมืด ทรงเห็นแล้ว ซึ่งความพินาศแห่งหมู่แห่งพระญาติ ทรงดำริแล้ว ว่า อ.อัน (อันเรา) กระทำ ซึ่งการสงเคราะห์ซึ่งญาติ ย่อมควร ดังนี้ เสด็จเที่ยวไปแล้ว เพื่อบิณฑะ ในสมัยอันเป็นเบื ้อง ต้นแห่งวัน ผู้ก้าวกลับแล้วจากบิณฑบาต ทรงสำเร็จแล้ว ซึ่งการ บรรทมเพียงดังการนอนแห่งสีหะ ในพระคันธกุฎี เสด็จไปแล้ว โดยอากาศ ในสมัยเป็นสิ้นไปแห่งวัน ประทับนั่งแล้ว ณ โคน แห่งต้นไม้ อันมีมีเงาโปร่ง อันเป็นที่ใกล้แห่งเมืองกบิลพัสดุ์ ฯ186  1ตํ 2ทิวสํ 3สตฺถา 4ปจฺจูสกาเล 5โลกํ 6โอโลเกนฺโต 7ญาตสงฺฆวินาสํ 8ทิสฺวา 9“ญาติสงฺคหํ 10กาตุํ 11วฏฺฏตีติ 12จินฺเตตฺวา 13ปุพฺพณฺหสมเย 14ปิณฺฑาย 15จริตฺวา 16ปิณฺฑปาตปฏิกฺกนฺโต 17คนฺธกุฏิยํ 18สีหเสยฺยํ 19กปฺเปตฺวา 20สายณฺหสมเย 21อากาเสน 22คนฺตฺวา 23กปิ 24ลวตฺถุสามนฺเต 25กพรจฺฉาเย 26รุกฺขมูเล 27นิสีทิ.
    อ.ตันไทร อันมีเงาทึบ ต้นใหญ่ มีอยู่ ในเขตแดนแห่งความ เป็นแห่งพระราชา ของพระเจ้าวิฑูฑภะ, อ.วิฑูฑภะ ทรงเห็นแล้ว ซึ่งพระศาสดา เสด็จเข้าไปเฝ้าแล้ว ถวายบังคมแล้ว กราบทูลแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.พระองค์ ท. เป็นผู้ประทับนั่งแล้ว ณ โคนแห่งตันไม้ อันมีเงาโปร่ง นี้ ในเวลาอันร้อน มีอย่างนี้เป็นรูป ย่อมเป็น เพราะเหตุอะไร, ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.พระองค์ ท. ขอจงประทับนั่ง ที่โคนแห่งต้นไทร มีเงาทึบ นั่นเถิด ดังนี้, (ครั้นเมื่อ พระดำรัส) ว่า ดูก่อนมหาพิตร (อ.เหตุนั่น) จงยกไว้, ชื่อ อ.เงา ของญาติ ท. เป็นธรรมชาติเย็น (ย่อมเป็น) ดังนี้ (อันพระศาสดา) ตรัสแล้ว, ทรงดำริแล้ว ว่า อ.พระศาสดา เป็นผู้เสด็จมาแล้ว เพื่อประโยชน์แก่การทรงรักษา ซึ่งพระญาติ ท. จักเป็น ดังนี้ ถวายบังคมแล้วซึ่ง พระศาสดา เสด็จกลับแล้ว เสด็จกลับไปแล้ว สู่เมืองชื่อว่าสาวัตถี นั่นเทียว ฯ187  1ตโต 2วิฑูฑภสฺส 3รชฺชสีมายํ 4มหนฺโต 5สณฺฑจฺฉาโย 6นิโคฺรธรุกฺโข 7อตฺถิ.
1วิฑูฑโภ 2สตฺถารํ 3ทิสฺวา 4อุปสงฺกมิตฺวา 5วนฺทิตฺวา 6“ภนฺเต 7กึการณา 8เอวรูปาย 9อุณฺหเวลาย 10อิมสฺมึ 11กพรจฺฉาเย 12รุกฺขมูเล 13นิสินฺนตฺถ, 14เอตสฺมึ 15สณฺฑจฺฉาเย 16นิโคฺรธมูเล 17นิสีทถ 18ภนฺเตติ 19วตฺวา, 20“โหตุ 21มหาราช, 22ญาตกานํ 23ฉายา 24นาม 25สีตลาติ 26วุตฺเต, 27“ญาตกานํ 28รกฺขณตฺถาย 29สตฺถา 30อาคโต 31ภวิสฺสตีติ 32จินฺเตตฺวา 33สตฺถารํ 34วนฺทิตฺวา 35นิวตฺติตฺวา 36สาวตฺถิเมว 37ปจฺจาคมิ.
    แม้ อ.พระศาสดา เสด็จเหาะขึ้นไปแล้ว เสด็จไปแล้ว สู่พระเชตวันนั่นเทียว ฯ188  1สตฺถาปิ 2อุปฺปติตฺวา 3เชตวนเมว 4คโต.
    อ.พระราชา ทรงระลึกถึงแล้ว ซึ่งโทษ ของเจ้าศากยะ ท. เสด็จออกไปแล้ว แม้ครั้งที่สอง ทรงเห็นแล้ว ซึ่งพระศาสดา ในที่นั้น นั่นเทียว เสด็จกลับแล้ว อีก ฯ189  1ราชา 2สากิยานํ 3โทสํ 4สริตฺวา 5ทุติยมฺปิ 6นิกฺขมิตฺวา 7ตตฺเถว 8สตฺถารํ 9ปสฺสิตฺวา 10ปุน 11นิวตฺติ.
    (อ.พระราชา) เสด็จออกไปแล้ว แม้ในวาระที่สาม ทรงเห็นแล้ว ซึ่งพระศาสดา ในที่นั้นนั่นเทียว เสด็จกลับแล้ว ฯ190  1ตติยวาเรปิ 2นิกฺขมิตฺวา 3ตตฺเถว 4สตฺถารํ 5ปสฺสิตฺวา 6นิวตฺติ.
    แต่ว่า ครั้นเมื่อพระจ้าวิฑูฑภะนั้น เสด็จออกไปแล้ว ในวาระ ที่ ๔, อ.พระศาสดา ทรงตรวจดูแล้ว ซึ่งกรรมมีในกาลก่อน ของเจ้าศากยะ ท. ทรงทราบแล้ว ซึ่งความที่แห่งกรรมอันเลว คือการใส่ซึ่งยาพิษในแม่น้ำ ของเจ้าศากยะท. เหล่านั้น เป็นกรรม อันใคร ๆ ไม่พึงห้าม ไม่ได้เสด็จไปแล้ว ในวาระที่ ๔ ฯ191  1จตุตฺถวาเร 2ปน 3ตสฺมึ 4นิกฺขนฺเต, 5สตฺถา 6สากิยานํ 7ปุพฺพกมฺมํ 8โอโลเกตฺวา 9เตสํ 10นทิยํ 11วิสปกฺขิปนปาปกมฺมสฺส 12อปฺปฏิพาหิยภาวํ 13ญตฺวา 14จตุตฺถวาเร 15นาคมาสิ.
    อ.พระเจ้าวิฑูฑภะ เสด็จออกไปแล้ว ด้วยพล หมู่ใหญ่ (ด้วยทรงดำริ) ว่า อ.เรา จักฆ่า ซึ่งเจ้าสากยะ ท. ดังนี้ ฯ192  1วิฑูฑโภ 2“สากิเย 3ฆาเตสฺสามีติ 4มหนฺเตน 5พเลน 6นิกฺขมิ.
    ก็ อ.พระญาติ ท. ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ชื่อว่าผู้ไม่ฆ่า ซึ่งสัตว์ แม้ตายอยู่ ย่อมไม่ปลงลง ซึ่งชีวิต ของชน ท. เหล่าอื่น ฯ193  1สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส 2ปน 3ญาตกา 4อสตฺตฆาตกา 5นาม 6มรนฺตาปิ 7ปเรสํ 8ชีวิตํ 9 10โวโรเปนฺติ.
    อ.เจ้าศากยะ ท. เหล่านั้น ทรงดำริกันแล้ว ว่า อ.เรา ท. เป็น ผู้มีมืออันศึกษาแล้ว เป็นผู้มีเครื่องผูกสอดอันกระทำแล้ว เป็นผู้มี การฝึ กปรือมาก (ย่อมเป็น), ก็ อันเรา ท. ไม่อาจ แล เพื่ออันปลงลง ซึ่งสัตว์อื่น จากชีวิต, อ.เรา ท. แสดงแล้ว ซึ่งกรรมของตน (ยังวิฑูฑภะ) จักให้หนีไป ดังนี้ ฯ194  1เต 2จินฺตยึสุ 3“มยํ 4สิกฺขิตหตฺถา 5กตุปาสนา 6มหิสฺสาสา, 7 8โข 9ปน 10สกฺกา 11อมฺเหหิ 12ปรํ 13ชีวิตา 14โวโรเปตุํ, 15อตฺตโน 16กมฺมํ 17ทสฺเสตฺวา 18ปลาเปสฺสามาติ.
    อ.เจ้าศากยะ ท. เหล่านั้น ผู้มีเครื่องผูกสอดอันกระทำแล้ว เสด็จออกไป ทรงเริ่มแล้ว ซึ่งการรบ ฯ195  1เต 2กตสนฺนาหา 3นิกฺขมิตฺวา 4ยุทฺธํ 5อารภึสุ.
    อ.ลูกศร ท. อันเจ้าศากยะ ท. เหล่านั้น ทรงซัดไปแล้ว ย่อมไป โดยระหว่างและระหว่าง แห่งบุรุษ ท. ของพระเจ้าวิฑูฑภะ, ย่อมออก (โดยระหว่าง ท.) มีระหว่างแห่งโล่ห์และระหว่างแห่งช่องแห่งหู เป็นต้น ฯ196  1เตหิ 2ขิตฺตา 3สรา 4วิฑูฑภสฺส 5ปุริสานํ 6อนฺตรนฺตเรน 7คจฺฉนฺติ, 8ผลกนฺตรกณฺณจฺฉิทฺทนฺตราทีหิ 9นิกฺขมนฺติ.
    อ.พระเจ้าวิฑูฑภะ ทรงเห็นแล้ว (ตรัสแล้ว) ว่า แน่ะพนาย อ.เจ้าศากยะ ท. ย่อมกล่าว ว่า อ.เรา ท. เป็นผู้ไม่ฆ่าซึ่งสัตว์ ย่อมเป็น ดังนี้ มิใช่หรือ, ก็ แล ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น (มีอยู่) (อ.เจ้า ศากยะ ท.) ยังบุรุษ ท. ของเรา ย่อมให้ฉิบหาย ดังนี้ ฯ197  1วิฑูฑโภ 2ทิสฺวา 3“นนุ 4ภเณ 5สากิยา 6`อสตฺตฆาตกมฺหาติ 7วทนฺติ, 8อถ 9 10ปน 11เม 12ปุริเส 13นาเสนฺตีติ.
     ครั้งนั้น อ.บุรุษ คนหนึ่ง กราบทูลแล้ว กะพระเจ้าวิฑูฑภะนั้น ว่า ข้าแต่เจ้า อ.พระองค์ เสด็จกลับแล้ว ทรงตรวจดูแล้ว หรือ ดังนี้ ฯ198  1อถ 2นํ 3เอโก 4ปุริโส 5อาห 6“กึ 7สามิ 8นิวตฺติตฺวา 9โอโลเกสีติ.
    (อ.พระเจ้า วิฑูฑภะ ตรัสแล้ว) ว่า อ.เจ้าศากยะ ท. ยังบุรุษ ท. ของเรา ให้ฉิบหายอยู่ ดังนี้ ฯ199  1“สากิยา 2เม 3ปุริเส 4นาเสนฺตีติ.
    (อ.บุรุษนั้น กราบทูลแล้ว) ว่า อ.บุรุษ บางคน ของพระองค์ ท. ชื่อว่าตายแล้ว ย่อมไม่มี, เชิญเถิด (อ.พระองค์ ท.) ขอจงทรงยังบุคคล ให้นับ ซึ่งบุรุษ ท. เหล่านั้น ดังนี้ ฯ200  1“ตุมฺหากํ 2โกจิ 3ปุริโส 4มโต 5นาม 6นตฺถิ, 7อิงฺฆ 8เน 9คณาเปถาติ.
    อ.วิฑูฑภะ ยังบุคคลให้นับอยู่ ไม่เห็นแล้ว ซึ่งความสิ้นไปแห่งบุรุษ แม้คนหนึ่ง ฯ201  1คณาเปนฺโต 2เอกสฺสปิ 3ขยํ 4 5ปสฺสิ.
    อ.พระเจ้าวิฑูฑภะนั้น เสด็จกลับแล้ว จากที่นั้น ตรัสแล้ว ว่า แน่ะพนาย อ.ชน ท. เหล่าได ๆ ย่อมกล่าว ว่า อ.เรา ท. เป็นเจ้า ศากยะ ย่อมเป็น ดังนี้ (อ.ท่าน ท.) (ยังชน ท. เหล่านั้น ๆ) ทั้งปวง จงให้ตาย; แต่ว่า อ.ท่าน ท. จงให้ ซึ่งชีวิต แก่ชน ท. ผู้ดำรงอยู่แล้ว ในสำนัก ของเจ้าศากยะพระนางว่ามหานาม ผู้เป็นพระเจ้าตา ของเรา ดังนี้ ฯ202  1โส 2ตโต 3นิวตฺติตฺวา 4“เย 5เย 6ภเณ 7`สากิยมฺหาติ 8ภณนฺติ 9สพฺเพ 10มาเรถ; 11มาตามหสฺส 12ปน 13เม 14มหานามสกฺกสฺส 15สนฺติเก 16ิตานํ 17ชีวิตํ 18เทถาติ 19อาห.
    อ.เจ้าศากยะ ท. เมื่อไม่ทรงเห็น ซึ่งวัตถุเป็นเครื่องถือเอา อันพระองค์พึงทรงถือเอา บางพวก (ได้ยืน) คาบแล้ว ซึ่งหญ้า บางพวก ได้ยืนถือแล้ว ซึ่งไม้อ้อ, (อ.เจ้าศากยะ ท. เหล่านั้น) (อันราชบุรุษ ท.) ถามแล้ว ว่า อ.ท่าน ท. เป็นเจ้าศากยะ (ย่อมเป็น) หรือ หรือว่า อ.ท่าน ท. เป็นเจ้าศากยะ (ย่อมเป็น) หามิได้ ดังนี้, อ.เจ้าศากยะ ท. เหล่านั้น แม้เมื่อตาย ย่อมไม่กล่าว กล่าวเท็จ เหตุใด; เพราะเหตุนั้น (อ.เจ้าศากยะ ท.) ผู้ยืนคาบแล้ว ซึ่งหญ้า ย่อมกล่าวว่า อ.ศากยะ หามิได้, อ.หญ้า ดังนี้, , (อ.เจ้าศากยะ ท.) ผู้ยืนถือแล้ว ซึ่งไม้อ้อ ย่อมกล่าว ว่า อ.ศากยะ หามิได้, อ.ไม้อ้อ ดังนี้ ฯ 203  1สากิยา 2คเหตพฺพคฺคหณํ 3อปสฺสนฺตา 4เอกจฺเจ 5ติณํ 6ฑํสิตฺวา 7เอกจฺเจ 8นฬํ 9คเหตฺวา 10อฏฺํสุ, 11“ตุมฺเห 12สากิยา 13โนติ 14ปุจฺฉิตา, 15ยสฺมา 16เต 17มรนฺตาปิ 18มุสาวาทํ 19 20ภณนฺติ; 21ตสฺมา 22ติณํ 23ฑํสิตฺวา 24ิตา 25“โน 26สาโก, 27ติณนฺติ 28วทนฺติ, 29นฬํ 30คเหตฺวา 31ิตา 32“โน 33สาโก, 34นโฬติ 35วทนฺติ.
    อ.เจ้าศากยะ ท. เหล่านั้นด้วย (อ.เจ้าศากยะ ท.) ผู้ดำรงอยู่แล้ว ในสำนัก ของเจ้าศากยะพระนามว่ามหานามด้วย ทรงได้แล้ว ซึ่งชีวิต ฯ204  1เต 2 3มหานามสฺส 4สนฺติเก 5ิตา 6 7ชีวิตํ 8ลภึสุ.
    ในเจ้าศากยะ ท. เหล่านั้นหนา (อ.เจ้าศากยะ ท.) ผู้ยืนคาบแล้ว ซึ่งหญ้า เป็นผู้ชื่อว่าเจ้าศากยะหญ้า (เกิดแล้ว), (อ.เจ้าศากยะ ท.) ผู้ยืนถือแล้ว ซึ่งไม้อ้อ เป็นผู้ชื่อว่าเจ้าศากยะ ไม่อ้อ เกิดแล้ว ฯ205  1เตสุ 2ติณํ 3ฑํสิตฺวา 4ิตา 5ติณสากิยา 6นาม, 7นฬํ 8คเหตฺวา 9ิตา 10นฬสากิยา 11นาม 12ชาตา.
    (อ.พระเจ้าวิฑูฑภะ) (ทรงยังราชบุรุษ ท.) ให้ฆ่าอยู่ (ซึ่งเจ้าศากยะ ท.) ผู้เหลือลง ไม่เว้น ซึ่งทารก ท. แม้ผู้ดื่มซึ่งน้ำนม ทรงยังแม่น้ำคือเลือด ให้เป็นไปทั่วแล้ว (ทรงยังราชบุรุษ ท.) ให้ล้างแล้ว ซึ่งแผ่นกระดาน ด้วยเลือดในพระศอ ของเจ้าศากยะ ท. เหล่านั้น ฯ206  1อวเสเส 2ขีรปเกปิ 3ทารเก 4อวิสฺสชฺเชตฺวา 5ฆาตาเปนฺโต 6โลหิตนทึ 7ปวตฺเตตฺวา 8เตสํ 9คลโลหิเตน 10ผลกํ 11โธวาเปสิ.
    อ.วงศ์แห่งเจ้าศากยะ อันพระเจ้าวิฑูฑภะ ทรงเข้าไปตัดแล้ว อย่างนี้ ฯ 207  1เอวํ 2สากิยวํโส 3วิฑูฑเภน 4อุปจฺฉินฺโน.
    อ.พระเจ้าวิฑูฑภะนั้น (ทรงยังราชบุรุษ ท.) ให้จับแล้ว ซึ่งเจ้าสากยะพระนามว่ามหานาม เสด็จกลับแล้ว (ทรงดำริแล้ว) ว่า อ.เรา ท. จักกระทำ ซึ่งอาหารอันบุคคลพึงกินในเวลาเช้า ดังนี้ เสด็จข้ามลงแล้ว ในที่แห่งหนึ่ง ในเวลาแห่งอาหารอันบุคคลพึงกิน ในเวลาเช้า, ครั้นเมื่อโภชนะ (อันบุคคล) น้อมเข้าไปแล้ว, (ทรงยังบุคคล) ให้ร้องเรียกแล้ว ซึ่งพระเจ้าตา (ด้วยพระดำรัส) ว่า อ.เรา ท. จักบริโภค โดยความเป็นอันเดียวกัน ดังนี้ ฯ208  1โส 2มหานามสกฺกํ 3คาหาเปตฺวา 4นิวตฺโต 5ปาตราสเวลาย 6“ปาตราสํ 7กริสฺสามาติ 8เอกสฺมึ 9าเน 10โอตริตฺวา, 11โภชเน 12อุปนีเต, 13“เอกโต 14ภุญฺชิสฺสามาติ 15อยฺยกํ 16ปกฺโกสาเปสิ.
     ก็ อ.กษัตริย์ ท. แม้เมื่อทรงสละ ซึ่งชีวิต ย่อมไม่เสวย กับด้วย บุตรของนางทาสี ; เพราะเหตุนั้น อ.เจ้าศากยะพระนามว่ามหานาม เสด็จข้ามลงแล้ว สู่สระ แห่งหนึ่ง ตรัสแล้ว ว่า แน่ะพ่อ อ.เรา เป็นผู้มีตัวเศร้าหมองแล้ว ย่อมเป็น, อ.เรา จักอาบ ดังนี้ ฯ209  1ขตฺติยา 2ปน 3ชีวิตํ 4จชนฺตาปิ 5ทาสีปุตฺเตน 6สทฺธึ 7 8ภุญฺชนฺติ; 9ตสฺมา 10มหานาโม 11เอกํ 12สรํ 13โอโลเกตฺวา 14“กิลิฏฺคตฺโตมฺหิ, 15นหายิสฺสามิ 16ตาตาติ 17อาห.
    (อ.พระจ้าวิฑูฑภะ ตรัสแล้ว) ว่า ข้าแต่พระเจ้าตา อ.ดีละ อ.พระองค์ ท. ขอจงทรงสนานเถิด ดังนี้ ฯ210  1“สาธุ 2อยฺยก 3นหายถาติ.
    อ.เจ้าสากยะพระนามว่ามหานาม นั้น (ทรงดำริแล้ว) ว่า อ.วิฑูฑภะ นี้ จักฆ่า ซึ่งเรา ผู้ไม่บริโภคอยู่ โดยความเป็นอันเดียวกัน, อ.ความตายแห่งเรา เองนั่นเทียว เป็นกิริยาประเสริฐกว่า (ย่อมเป็น) ดังนี้ ทรงสยายแล้ว ซึ่งพระเกศา ท. ทรงกระทำแล้ว ให้เป็นปม ที่ปลาย ทรงยังพระองคุลีแห่งพระบาท ท. ให้เข้าไปแล้ว ในพระเกศา ท. ทรงดำลงแล้ว ในน้ำ ฯ211  1โส 2“อยํ 3มํ 4เอกโต 5อภุญฺชนฺตํ 6ฆาเตสฺสติ, 7สยเมว 8เม 9มตํ 10เสยฺโยติ 11เกเส 12มุญฺจิตฺวา 13อคฺเค 14คณฺึ 15กตฺวา 16เกเสสุ 17ปาทงฺคุฏฺเก 18ปเวเสตฺวา 19อุทเก 20นิมุชฺชิ.
    อ.ภพแห่งนาค แสดงแล้ว ซึ่งอาการอันร้อน ด้วยเดชแห่งคุณ ของเจ้าสากยะพระนามว่ามหานามนั้น ฯ212  1ตสฺส 2คุณเตเชน 3นาคภวนํ 4อุณฺหาการํ 5ทสฺเสสิ.
    อ.นาคผู้พระราชา ใคร่ครวญอยู่ ว่า อ.เหตุอะไร หนอ แล ดังนี้ เห็นแล้ว มาแล้ว สู่สำนัก ของเจ้าสากยะพระนามว่ามหานาม นั้น (ยังเจ้าศากยะพระนามว่ามหานาม) ให้นั่งแล้ว บนพังพาน ให้เสด็จเข้าไปแล้วสู่ภพแห่งนาค ฯ 213  1นาคราชา 2“กินฺนุ 3โขติ 4อุปธาเรนฺโต 5ทิสฺวา 6ตสฺส 7สนฺติกํ 8อาคนฺตฺวา 9ผเณ 10นิสีทาเปตฺวา 11นาคภวนํ 12ปเวเสสิ.
    อ.เจ้าศากยะพระนามว่ามหานาม นั้น ประทับอยู่แล้ว ในภพแห่งนาคนั้นนั่นเทียว สิ้นปี ๑๒ ท. ฯ214  1โส 2ทฺวาทสวสฺสานิ 3ตตฺเถว 4วสิ.
    แม้ อ.พระะจ้าวิฑูภะ ประทับนั่งแล้ว (ทรงยังกาล) ให้มาอยู่ เทียว (ด้วยทรงดำริ) ว่า อ.พระเจ้าตา ของเรา จักเสด็จมา ในกาลนี้ ดังนี้; ครั้นเมื่อเจ้าศากยะพระนามว่ามหานามนั้นทรงประพฤติช้า เกินอยู่, (ทรงยังราชบุรุษ ท.) ให้ค้นแล้ว ในสระ ทรงตรวจดูแล้ว แม้ซึ่งภายในแห่งบุรุษ ท. ด้วยแสงสว่างแห่งประทีป ไม่ทรงเห็นแล้ว เสด็จหลีกไปแล้ว (ด้วยทรงดำริ) ว่า (อ.พระเจ้าตา ของเรา) เป็นผู้เสด็จไปแล้ว จักเป็น ดังนี้ ฯ215  1วิฑูฑโภปิ 2“มยฺหํ 3อยฺยโก 4อิทานิ 5อาคมิสฺสตีติ 6อาคมยมาโนว 7นิสีทิ; 8ตสฺมึ 9อติจิรายนฺเต, 10สเร 11วิจินาเปตฺวา 12ทีปาโลเกน 13ปุริสพฺภนฺตรานิปิ 14โอโลเกตฺวา 15อทิสฺวา 16“คโต 17ภวิสฺสตีติ 18ปกฺกามิ.
    อ.พระเจ้าวิฑูฑภะ นั้น เสด็จถึงแล้ว ซึ่งแม่น้ำชื่อว่าอจิรวดี ในส่วนแห่งราตรี (ทรงยังราชบุรุษ ท.) ให้ตั้งแล้ว ซึ่งค่าย ฯ216  1โส 2รตฺติภาเค 3อจิรวตึ 4ปตฺวา 5ขนฺธาวารํ 6นิเวเสสิ.
    อ.ชน ท. บางพวกนอนแล้ว บนเนินแห่งทราย ในภายในแห่ง แม่น้ำ, อ.ชน ท. บางพวก (นอนแล้ว) บนบก ในภายนอก, (ในชน ท.) แม้ผู้นอนแล้ว ในภายในหนา (อ.ชน ท.) ผู้มีกรรมชั่ว อันไม่กระทำแล้วในกาลก่อน มีอยู่, (ในชน ท.) แม้ผู้นอนแล้ว ในภายในหนา (อ.ชน ท.) ผู้มีกรรมชั่วอันไม่กระทำแล้ว ในกาล ก่อนมีอยู่, (ในชน ท.) แม้ผู้นอนแล้ว ในภายนอกหนา (อ.ชน ท.) ผู้มีกรรมชั่วอันกระทำแล้ว ในกาลก่อน มีอยู่; อ.มดแดง ท. ตั้งขึ้นแล้ว ในที่แห่งชน ท. เหล่านั้นนอนแล้ว ท. ฯ217  1เอกจฺเจ 2อนฺโตนทิยํ 3วาลิกาปุลิเน 4นิปชฺชึสุ, 5เอกจฺเจ 6พหิ 7ถเล, 8อนฺโต 9นิปนฺเนสุปิ 10ปุพฺเพ 11อกตปาปกมฺมา 12อตฺถิ, 13พหิ 14นิปนฺเนสุปิ 15ปุพฺเพ 16กตปาปกมฺมา 17อตฺถิ; 18เตสํ 19นิปนฺนฏฺาเนสุ 20กิปิ 21ลฺลิกา 22อุฏฺหึสุ.
    อ.ชน ท. เหล่านั้น (กล่าวแล้ว) ว่า อ.มดแดง ท. (ตั้งขึ้นแล้ว) ในที่แห่งเรานอนแล้ว, อ.มดแดง ท. (ตั้งขึ้นแล้ว) ในที่แห่งเรานอนแล้ว ดังนี้ ลุกขึ้นแล้ว, (อ.ชน ท.) ผู้มีกรรมชั่ว อันไม่กระทำแล้ว ข้ามขึ้นแล้ว นอนแล้ว บนบก, (อ.ชน ท.) ผู้มีกรรมชั่วอันกระทำแล้ว ข้ามลงแล้ว นอนแล้ว บนเนินแห่งทราย ฯ218  1เต 2“มยฺหํ 3นิปนฺนฏฺาเน 4กิปิ 5ลฺลิกา, 6มยฺหํ 7นิปนฺนฏฺาเน 8กิปิ 9ลฺลิกาติ 10อุฏฺหิตฺวา, 11อกตปาปกมฺมา 12อุตฺตริตฺวา 13ถเล 14นิปชฺชึสุ, 15กตปาปกมฺมา 16โอตริตฺวา 17วาลิกาปุลิเน 18นิปชฺชึสุ.
    ในขณะนั้น อ.เมฆใหญ่ ตั้งขึ้นแล้ว ยังฝนลูกเห็บ ให้ตกแล้ว ฯ219  1ตสฺมึ 2ขเณ 3มหาเมโฆ 4อุฏฺหิตฺวา 5ฆนกรกวสฺสํ 6วสฺสิ.
    อ.ห้วงน้ำ แห่งแม่น้ำ ไหลมาแล้ว ยังพระเจ้าวิฑูฑภะ กับ ด้วย บริษัท ให้ถึงแล้ว ซึ่งทะเลนั่นเทียว ฯ220  1นทิยา 2โอโฆ 3อาคนฺตฺวา 4วิฑูฑภํ 5สทฺธึ 6ปริสาย 7สมุทฺทเมว 8ปาเปสิ.
    อ.ชน ท. ทั่งปวงเป็นเหยื่อของ ปลาและเต่า ในทะเลนั่น ได้เป็นแล้ว ฯ221  1สพฺเพ 2ตตฺถ 3มจฺฉกจฺฉป- 4ภกฺขา 5อเหสุํ.
    อ.มหาชน ยังวาจาเป็นเครื่องกล่าว ให้ตั้งขึ้นพร้ อม แล้ว ว่า อ.ความตาย แห่งเจ้าสากยะ ท. ไม่สมควรแล้ว, อ.เจ้าศากยะ ท. (อันพระเจ้าวิฑูฑภะ ยังราชบุรุษ ท.) ให้ทุบแล้ว ให้ทุบแล้ว พึงให้ตาย ชื่ออย่างนี้ เพราะเหตุนั้น อ.ความตาย นั่น เป็นความตายสมควร (ย่อมเป็น) ดังนี้ ให้ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว ฯ222  1มหาชโน 2กถํ 3สมุฏฺาเปสิ 4“สากิยานํ 5มรณํ 6อยุตฺตํ 7เอวนฺนาม 8โกฏฺเฏตฺวา 9โกฏฺเฏตฺวา 10สากิยา 11มาเรตพฺพาติ 12อนุจฺฉวิกเมตนติ.
    อ.พระศาสดา ทรงสดับแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวนั้น ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ.ความตาย อย่างนี้ แห่งเจ้าศากยะ ท. ไม่สมควรแล้ว ในอัตภาพนี้ แม้โดยแท้, ถึงอย่างนั้น (อ.ความตาย) อันสมควรแล้ว ด้วยความสามารถแห่งกรรมอันเป็นบาป (อันเจ้า ศากยะ ท.) กระทำแล้ว ในกาลก่อนนั่นเทียว อันเจ้าศากยะ ท. เหล่านั้น ได้แล้ว ดังนี้ ฯ223  1สตฺถา 2ตํ 3กถํ 4สุตฺวา 5“ภิกฺขเว 6อิมสฺมึ 7อตฺตภาเว 8กิญฺจาปิ 9สากิยานํ 10เอวํ 11มรณํ 12อยุตฺตํ, 13ปุพฺเพ 14กตปาปกมฺมวเสน 15ปน 16ยุตฺตเมว 17เอเตหิ 18ลทฺธนฺติ 19อาห.
    (อ.ภิกษุ ท. ทูลถามแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ ผู้เจริญ ก็ อ.เจ้าศากยะ ท. เหล่านั่น ได้กระทำแล้ว ซึ่งกรรมอะไร ในกาลก่อน ดังนี้ ฯ 224  1“กึ 2ปน 3ภนฺเต 4เอเต 5ปุพฺเพ 6อกํสูติ.
    (อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว) ว่า (อ.เจ้าศากยะ ท. เหล่านั่น) เป็น โดยความเป็นอันเดียวกัน ใส่แล้ว ซึ่งยาพิษ ในแม่น้ำ ในกาลก่อน ดังนี้ ฯ225  1“ปุพฺเพ 2เอกโต 3หุตฺวา 4นทิยํ 5วิสํ 6ปกฺขิปึ 7สูติ.
    ในวันหนึ่งอีก อ.ภิกษุ ท. ยังวาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่า อ.พระเจ้าวิฑูฑภะ ทรงยังเจ้าศากยะ ท. มีประมาณเท่านี้ ให้ตายแล้ว เสด็จมาอยู่, ครั้นเมื่อมโนรถ ของพระองค์ ไม่ถึงแล้ว ซึ่งที่สุดนั่นเทียว, ทรงพาเอาแล้ว ซึ่งชนมีประมาณเท่านี้ เป็น เหยื่อของปลาและเต่าในทะเล เกิดแล้ว ดังนี้ ให้ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว ในโรงเป็นที่กล่าวกับด้วยการแสดงซึ่งธรรม ฯ226  1ปุเนกทิวสํ 2ภิกฺขู 3ธมฺมสภายํ 4กถํ 5สมุฏฺาเปสุํ 6“วิฑูฑโภ 7เอตฺตเก 8สากิเย 9มาเรตฺวา 10อาคจฺฉนฺโต 11อตฺตโน 12มโนรเถ 13มตฺถกํ 14อปฺปตฺเต 15เอว, 16เอตฺตกํ 17ชนํ 18อาทาย 19สมุทฺทมจฺฉกจฺฉปภกฺโข 20ชาโตติ.
    อ.พระศาสดา เสด็จมาแล้ว ตรัสถามแล้ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ.เธอ ท. เป็นผู้นั่งพร้อมกันแล้ว ด้วยวาจาเป็นเครื่องกล่าว อะไร หนอ ย่อมมี ในกาลนี้ ดังนี้, (ครั้นเมื่อคำ) ว่า (อ.ข้าพระองค์ ท. เป็นผู้นั่งพร้อมกันแล้ว ด้วยวาจาเป็นเครื่องกล่าว) ชื่อนี้ (ย่อมมี ในกาลนี้) ดังนี้ (อันภิกษุ ท. เหล่านั้น) กราบทูลแล้ว, ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. ครั้นเมื่อมโนรถ ของสัตว์ ท. เหล่านี้ ไม่ถึงแล้ว ซึ่งที่สุดนั่นเทียว, อ.มัจจุผู้พระราชา ตัดแล้ว ซึ่งอินทรีย์คือชีวิต (ยังสัตว์ ท.) ย่อมให้จมลง ในทะเลคืออบาย ๔ ราวกะ อ.ห้วง น้ำใหญ่ ท่วมทับอยู่ ซึ่งบ้าน อันหลับแล้ว ดังนี้ ตรัสแล้ว ซึ่งพระ คาถานี้ ว่า อ.มัจจุ พาเอา ซึ่งนระ ผู้เลือกเก็บอยู่ ซึ่งดอกไม้ ท. นั่นเทียว ผ ู้มีใจข้องแล้วโดยอาการมีอย่างต่างๆ ไปอยู่ เพียงดัง อ.ห้วงน้ำใหญ่ (พาเอา) ซึ่งบ้าน อันหลับแล้ว (ไปอย่) ดังนี้ ฯ227  1สตฺถา 2อาคนฺตฺวา 3“กาย 4นุตฺถ 5ภิกฺขเว 6เอตรหิ 7กถาย 8สนฺนิสินฺนาติ 9ปุจฺฉิตฺวา, 10“อิมาย 11นามาติ 12วุตฺเต, 13“ภิกฺขเว 14อิเมสํ 15สตฺตานํ 16มโนรเถ 17มตฺถกํ 18อปฺปตฺเต 19เอว, 20มจฺจุราชา 21สุตฺตํ 22คามํ 23อชฺโฌตฺถรนฺโต 24มโหโฆ 25วิย 26ชีวิตินฺทฺริยํ 27ฉินฺทิตฺวา 28จตุราปายสมุทฺเท 29นิมุชฺชาเปตีติ 30วตฺวา 31อิมํ 32คาถมาห 33“ปุปฺผานิ 34เหว 35ปจินนฺตํ 36พฺยาสตฺตมนสํ 37นรํ 38สุตฺตํ 39คามํ 40มโหโฆว 41มจฺจุ 42อาทาย 43คจฺฉตีติ.
    (อ.อรรถ) ว่า ผู้มีใจข้องแล้ว (ในอารมณ์) อันถึงพร้อมแล้ว หรือ หรือว่า อันไม่ถึงพร้อมแล้ว (ดังนี้) (ในบท ท.) เหล่านั้นหนา (แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า พฺยาสตฺตมนสํ นรํ ดังนี้ ฯ228  1ตตฺถ 2พฺยาสตฺตมนสํ 3นรนฺติ: 4สมฺปตฺเต 5วา 6อสมฺปตฺเต 7วา 8ลคฺคมานสํ.
    (อ.อรรถรูป) นี้ ว่า : อ.นายมาลาการ เข้าไปแล้ว สู่สวนแห่งดอกไม้ (คิดแล้ว) ว่า อ.เรา จักเก็บ ซึ่งดอกไม้ ท. ดังนี้ ไม่ถือเอาแล้ว ซึ่งดอกไม้ ท. (จากสวนแห่งดอกไม้) นั้น (หรือ) หรือว่า ปรารถนาอยู่ ซึ่งกอ อื่นๆ ชื่อว่าส่งไปแล้ว ซึ่งใจ ในสวนแห่งดอกไม้ ทั้งสิ้น อนึ่ง (คิดแล้ว) ว่า อ.เรา จักเก็บ ซึ่งดอกไม้ ท. (จากกอ) นี้ ดังนี้ ไม่ถือเอาแล้ว ซึ่งดอกไม้ ท. (จากกอ) นั้น ย่อมส่งไป ซึ่งใจ (ในกอ) อื่น เลือกเก็บอยู่ ซึ่งกอ นั้นนั่นเทียว ชื่อว่าย่อมถึงทั่ว ซึ่งความประมาท ฉันใด; (อ.นระ) บางคน ข้ามลงแล้ว สู่ท่ามกลางแห่งกามคุณ ๕ อันเช่นกับ ด้วยสวนแห่งดอกไม้ ได้แล้ว ซึ่งรูป อันเป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ ย่อมปรารถนา แห่งเสียงและกลิ่นและรสและโผฏฐัพพะ ท. อันเป็น ที่รื่นรมย์แห่งใจหนา (ซึ่งอารมณ์) อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ, หรือว่า ได้แล้ว (ในเสียงและกลิ่นและรสและโผฏฐัพพะ ท.) เหล่านั้น หนา (ซึ่งอารมณ์) อย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมปรารถนา (ซึ่งอารมณ์) อย่าง ใดอย่างหนึ่ง, ได้แล้ว ซึ่งรูปนั่นเทียว ปรารถนาอยู่ (ซึ่งรูป) อย่างใด อย่างหนึ่ง ชื่อว่าย่อมชอบใจ (ซึ่งรูปอันตนได้แล้ว) นั้นนั่นเทียวหรือ, หรือว่า (ได้แล้ว ในอารมณ์ ท.) มีเสียงเป็นต้นหนา (ซึ่งอารมณ์) อย่างใดอย่างหนึ่ง (ปรารถนาอยู่ ซึ่งอารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง ชื่อว่าย่อมชอบใจ ซึ่งอารมณ์อันตนได้แล้วนั้นนั่นเทียว) ฉันนั้นนั่น เทียว ฯ 229  1อิทํ 2วุตฺตํ 3โหติ: 4ยถา 5มาลากาโร 6ปุปฺผารามํ 7ปวิสิตฺวา 8“ปุปฺผานิ 9ปจินิสฺสามีติ 10ตโต 11ปุปฺผานิ 12อคฺคเหตฺวา 13อญฺญมญฺญํ 14วา 15คจฺฉํ 16ปฏฺเนฺโต 17สกเล 18ปุปฺผาราเม 19มนํ 20เปเสส 21“อิโต 22 23ปุปฺผานิ 24ปจินิสฺสามีติ 25ตโต 26ปุปฺผานิ 27อคฺคเหตฺวา 28อญฺญตฺถ 29มนํ 30เปเสติ 31ตเมว 32คจฺฉํ 33ปจินนฺโต 34ปมาทํ 35อาปชฺชติ; 36เอวเมว 37เอกจฺโจ 38ปุปฺผารามสทิสํ 39ปญฺจกามคุณมชฺฌํ 40โอตริตฺวา 41มโนรมํ 42รูปํ 43ลภิตฺวา 44มโนรมานํ 45สทฺทคนฺธรส- 46โผฏฺพฺพานํ 47อญฺญตรํ 48ปฏฺเติ, 49เตสุ 50วา 51อญฺญตรํ 52ลภิตฺวา 53อญฺญตรํ 54ปฏฺเติ, 55รูปเมว 56วา 57ลภิตฺวา 58อญฺญตรํ 59ปฏฺเนฺโต 60ตเมว 61อสฺสาเทติ, 62สทฺทาทีสุ 63วา 64อญฺญตรํ.
    อ.นัย (ในสวิญญาณกทรัพย์และอวิญญาณกทรัพย์ ท.) มีโค- และกระบือและทาสีและทาสและนาและสวนและบ้านและนิคม และชนบทเป็นต้น นี้นั่นเทียว (อ.นัย) ในบริเวณและวิหารและ (บริขาร) มีบาตรและจีวรเป็นต้น ท. แม้ของบรรพชิต ท. (นี้นั่น เทียว) ; (อ.มัจจุ พาเอา) ซึ่งนระ ผู้เลือกเก็บอยู่ ซึ่งดอกไม้ ท. อันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่ากามคุณ ๕ นั่นเทียว ผู้มีใจข้องแล้วโดย อาการมีอย่างต่างๆ ในกามคุณ อันถึงพร้อมแล้ว หรือ หรือว่า อัน ไม่ถึงพร้อมแล้ว (ไปอยู่) อย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้ (ดังนี้) เป็นคำ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว ย่อมเป็น ฯ230  1เอเสว 2นโย 3โคมหิสทาสีทาสเขตฺตวตฺถุคาม- 4นิคมชนปทาทีสุ, 5ปพฺพชิตานมฺปิ 6ปริเวณวิหาร- 7ปตฺตจีวราทีสูติ; 8เอวํ 9ปญฺจกามคุณสงฺขาตานิ 10ปุปฺผานิ 11เอว 12ปจินนฺตํ 13สมฺปตฺเต 14วา 15อสมฺปตฺเต 16วา 17กามคุเณ 18พฺยาสตฺตมนสํ 19นรํ.
    (อ.อรรถ) ว่า ชื่อ อ.ความหลับ แห่งบ้าน ด้วยสามารถแห่ง ความหลับ (แห่งทัพพสัมภาระ ท.) มีฝาแห่งเรือนเป็นต้น ย่อมไม่มี, แต่ว่า (อ.บ้าน) ชื่อว่าเป็นสภาพหลับแล้ว เพราะอันเทียบเคียง ซึ่งความประมาทเพียงดังความหลับ แห่งสัตว์ ท. ย่อมเป็น; อ.มัจจุ พาเอา (ซึ่งนระ) ไปอยู่ เพียงดัง อ.ห้วงน้ำใหญ่ ทั้งกว้างทั้งลึก สิ้นโยชน์ ท. สอง สาม (พาเอา) ซึ่งบ้าน อันหลับแล้ว อย่างนั้น (ไปอยู่) คือว่า ; อ.ห้วงน้ำใหญ่ นั้น ยังบ้านนั้น ทั้งปวง ให้ถึงแล้ว ซึ่งทะเล ไม่ยัง (ในสัตว์ ท.) มีหญิงและบุรุษและโคและกระบือและ ไก่เป็นต้นหนาสัตว์ อะไรๆ ให้เหลือลง ย่อมกระทำ ให้เป็นเหยื่อ ของปลาและเต่า ฉันใด; อ.มัจจุคือความตาย พาเอาแล้ว ซึ่งนระ ผู้มีใจข้องแล้วโดยอาการมีอย่างต่างๆ คือว่า ตัดแล้ว ซึ่งอินทรีย์ คือชีวิต ของนระนั้น (ยังนระนั้น) ย่อมให้จมลง ในทะเลคืออบายสี่ ฉันนั้นนั่นเทียว ดังนี้ (แห่งหมวดสองแห่งบท) ว่า สุตฺตํ คามํ ดังนี้ ฯ231  1สุตฺตํ 2คามนฺติ: 3คามสฺส 4เคหภิตฺติอาทีนํ 5สุปนวเสน 6สุปนํ 7นาม 8นตฺถิ, 9สตฺตานํ 10ปน 11สุตฺตปฺปมตฺตตํ 12อุปาทาย 13สุตฺโต 14นาม 15โหติ; 16เอวํ 17สุตฺตํ 18คามํ 19เทฺว 20ตีณิ 21โยชนานิ 22อายตคมฺภีโร 23มโหโฆว 24มจฺจุ 25อาทาย 26คจฺฉติ; 27ยถา 28โส 29มโหโฆ 30อิตฺถีปุริส- 31โคมหิสกุกฺกุฏาทีสุ 32กญฺจิ 33อนวเสเสตฺวา 34สพฺพนฺตํ 35คามํ 36สมุทฺทํ 37ปาเปตฺวา 38มจฺฉกจฺฉปภกฺขํ 39กโรติ; 40เอวเมว 41พฺยาสตฺตมนสํ 42นรํ 43มรณมจฺจุ 44อาทาย 45ชีวิตินฺทฺริยมสฺส 46ฉินฺทิตฺวา 47จตุราปายสมุทฺเท 48นิมุชฺชาเปตีติ.
    ในกาลเป็นที่สุดลงแห่งเทศนา (อ.ชน ท.) มาก บรรลุแล้ว (ซึ่งอริยผล ท.) มีโสดาปัตติผลเป็นต้น ฯ232  1เทสนาวสาเน 2พหู 3โสตาปตฺติผลาทีนิ 4ปตฺตา.
    อ.เทศนา เป็นเทศนาเป็นไปกับด้วยวาจามีประโยชน์ เกิดแล้ว แก่มหาชน ดังนี้แล ฯ233  1มหาชนสฺส 2สาตฺถิกา 3เทสนา 4ชาตาติ.
    อ.เรื่องแห่งพระเจ้าวิฑูฑภะ (จบแล้ว) ฯ234  1วิฑูฑภวตฺถุ.